ReadyPlanet.com
dot dot
dot
นาซี 778 [Nashi 778]
dot
bulletรู้จักนาซี 778
bulletคุณสมบัติ
bulletประสิทธิภาพ
bulletวิธีใช้นาซี 778
bulletข้อควรระวัง
bulletทฤษฏี กลไก และ บทบาท
bulletขนาดและราคา
dot
นาโน 863 [Nano 863]
dot
bulletรู้จักนาโน 863
bulletประสิทธิภาพ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเพาะปลูก
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการปศุสัตว์
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเห็ด
bulletขนาดและราคา
dot
นาโนบอล [Nano Ball]
dot
bulletรู้จักนาโนบอล
bulletวิธีใช้นาโนบอล
bulletราคา
dot
นาโนสทีค [Nano Stick]
dot
bulletรู้จักนาโนสทีค
bulletราคา
dot
Download Brochures
dot
bulletโปรชัวร์นาซี 778 และนาโน 863
dot
Photo Albums
dot
bulletอัลบั้มรูปผลผลิตต่างๆที่ได้จากนาซี 778
dot
รายงานผลการใช้ผลิตภัณฑ์
dot
bulletสารสมุนไพรนาซี 778
dot
สั่งซื้อผลิตภัณฑ์
dot
bulletหมวดหมู่สินค้า
dot
ตะกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00บาท
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
bulletยืนยันการโอนเงิน
bulletตรวจสอบสถานะสั่งซื้อสินค้า
dot
สมัครรับข่าวสาร

dot


Go to Nanosoeasy.com
Nano 863 Video Clip #1
Nano 863 Video Clip #10
Nano 863 Video Clip #9
Nano 863 Video Clip #8
Nano 863 Video Clip #7
Nano 863 Video Clip #6
Nano 863 Video Clip #5
Nano863 Video Clip #3
Nano 863 Video Clip #2


ไข่มุกดำที่มีรสชาติแสนโอชา article

เห็น หัวข้อเรื่องก็ชวนให้มึนงงเป็นแน่แท้ ไข่มุกดำมีด้วยหรือ ? ที่เห็นกินๆกันอยู่ก็เป็นไข่มุกขาวที่กินเพื่อบำรุงผิวให้ขาวเนียนผุดผ่อง แต่นี่เป็นไข่มุกดำกินเข้าไปแล้วผิวจะไม่ดำเมี่ยงไปหรอกหรือ

อ๋อ ไม่หรอกหรอกครับ มิได้เป็นไปดังที่คาดคิดเดาเอาเองนะครับ เพียงแต่จั่วหัวเรื่องให้พิศวงตื่นเต้นกันเล็กน้อย ส่วนที่ว่า ไข่ดำก็มาด้วย ก็ไม่ได้หมายถึงไข่สีดำนะครับ แต่จะเป็นอะไรก็ติดตามอ่านเพื่อความบันเทิงใจพร้อมกับรับเอาเกร็ดความรู้เล็กๆน้อยทางการเกษตรก็แล้วกัน

ไข่มุกดำ ที่ว่านี้ก็คือชื่อของเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมสายพันธุ์หนึ่งในประเทศจีน (F1 Hybrid) ที่ทำการผสมปรับปรุงพันธุ์จนได้เมล็ดที่มีสีดำสนิท แล้วให้ชื่อว่า เฮยเจินจู (黑珍珠) ซึ่งแปลความได้ว่า ไข่มุกดำ นั่นเอง จากหน้าซองเมล็ดพันธุ์เขียนบรรยายคุณลักษณ์เอาไว้ว่า หวานหอม เหนียวนุ่ม ใช้เวลาปลูก 115 วันก็เก็บเกี่ยวฝักสดมาบริโภคได้ ความยาวฝัก 22-24 ซม. เนื้อเหนียวนุ่ม เมล็ดสีดำวาว ชอบแสง ชอบน้ำ และก็ชอบปุ๋ย (หมายถึงต้องการปุ๋ยมากหน่อย) มีความต้านทานโรคสูง เป็นสายพันธุ์ใหม่ที่ใช้บริโภคฝักสด มีกลิ่นหอม รสหวาน เนื้อเหนียว นุ่ม  อุดมไปด้วยโภชนะสาร


ข้าวโพด เฮยเจินจู


ได้ไปเมืองจีนก็หลายรอบ แต่ก็ยังไม่เคยได้ลองลิ้มชิมรสสักที เพราะไปไม่ตรงฤดูกาล ได้แต่สอบถามชาวจีนหลายๆท่านในประเทศจีนแล้ว ต่างกล่าวยืนยันเป็นเสียงเดียวว่า กินอร่อยจริง อันนี้ก็ต้องเชื่อเขาเจ้าของประเทศไปก่อน เอาไว้มีโอกาสจะต้องลองลิ้มชิมรสให้ได้  (คงไม่ชิมไปบ่นไปหรอกนะครับ เพราะไม่ใช่คนขี้บ่น) แล้วจะมารายงานให้ทราบ

ส่วนที่บอกว่า ไข่ดำก็มาด้วย นั้น ก็ไม่ได้หมายถึง ไข่ไก่ ไข่เป็ด หรือไข่นุ้ยที่เป็นสีดำหรอกนะครับ เพราะไม่ได้มีการตั้งชื่อใดๆให้กับมันเลย ก็เลยตั้งชื่อให้ฟังโก้หรูไปเท่านั้นเอง เพราะเจ้าไข่ดำที่ว่านี้ก็คือ ฟักแฟง ที่มีผิวสีเปลือกดำเกือบสนิทเช่นกัน บนหน้าซองเขียนบอกไว้ว่า กว่างตงเฮยผีตงกวา (กว่างตงหมายถึงกวางตุ้ง เฮย แปลว่าสีดำ ผี ไม่ได้หมายถึงภูตผีปีศาจนะครับ แต่หมายถึง เปลือก ตงกวา ก็หมายถึงฟักหรือแฟงนั่นเอง) ก็เป็นอันเข้าใจกันนะครับ  


ฟักแฟง กว่างตงเฮยผีตงกวา


ผลงานเมล็ดพันธุ์ฟักแฟงที่ว่านี้ เกิดจากการผสมปรับปรุงพันธุ์โดย สถาบันการเกษตรแห่งมหานครกว่างตง (กวางตุ้ง) ผลมีลักษณะคล้ายลูกระเบิดตอปิโด เนื้อหนา ไส้เล็ก เนื้อสีขาวแน่น เปลือกแข็ง คุณภาพดี ปลูกง่าย ต้านทานโรค ผลผลิตสูง ออกผลต่อเนื่อง ผลอ่อนจะออกสีเขียวปนดำ ความยาวผลประมาณ 60 ซม. น้ำหนักผลเฉลี่ย 15 กก. ผลที่ใหญ่มากๆมีน้ำหนัก 40 กก.ขึ้นไป เมื่อผลแก่ผิวสีเปลือกจะเป็นสีดำอมเขียวเข้ม ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 12,000 กก. ในพื้นที่ปลูกอุดมสมบูรณ์ น้ำถึง ผลผลิตอาจสูงถึง 24,000 กก.ต่อไร่เลยทีเดียว ผลแก่ของมันนั้นเก็บได้นานวัน ขนส่งง่าย อีกทั้งเมล็ดและเปลือกของมันยังสามารถนำไปใช้เข้ายาจีนแผนโบราณได้อีกด้วย นับว่าเป็นพืชที่น่าสนใจตั้ง 2 ชนิด เพราะว่าเป็นพืชที่สามารถปลูกได้ในบ้านเราอยู่แล้ว เอ้า ใครท่านใดสนใจบอก (จะได้สั่งมาจำหน่ายให้นะครับ ไม่ได้มีแจกหรอกครับผม และจะนำเอาดอกไม้สีน้ำเงินมาให้ดูกันในโอกาสต่อไป) 




เกษตรไฮเทค

นักวิชาการรู้ แต่ยังไม่กล้าบอก
ปลูกข้าวในทะเลทราย โดยใช้เม็ดทรายเก็บกักน้ำไว้ทำนา
กดเอาไว้ อย่าให้โผล่ขึ้นมาได้ แล้วมันก็จะดีเอง!
กว่าจะเป็นตัวตนของตนเอง ต้องใช้เวลาเดินทางนานร่วม 60 ปี !
เบื้องหลังความสำเร็จรางวัลไวน์เหรียญทองนานาชาติของจีน
เคล็ดลับประหลาดที่ใช้ปลูกข้าวได้ผลดีเหลือเชื่อ
GMO
คาร์บอนไดออกไซด์ทำให้คุณภาพซากสุกรดีขึ้น
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) อีกแล้ว
จ่าวหลานต้านไป๋ (藻蓝蛋白 / Algal blue protein) article
เอ๊ะ ทำได้อย่างไร ?
并蒂荔枝 (ปิ้งตี้ลี่จือ) คืออะไร ?
คุณเชื่อหรือไม่ ปลูกต้นไม้ในทะเลทราย 10 วินาที ต่อ 1 ต้น อัตราการรอดสูงถึง 90 เปอร์เซ็นต์?
มหันต์ภัยเงียบก่อหายนะกำลังเผยตัวปรากฏให้เห็นแล้วอย่างชัดเจนในผืนแผ่นดินเพาะปลูก
ยาสูบมีโทษต่อร่างกาย ผู้เสพอาจถึงตายได้ แต่ ... นักวิทยาศาสตร์กลับนำมันมารักษาชีวิตคน ! article
ถึงเวลายาเคมีเกษตรต้องยาตราถอยทัพ
ยาเคมีหรือ ถอยให้ห่างไกลไปเลย
สารตัวนี้แหละที่ช่วยเร่งอัตราการสังเคราะห์แสงในพืช article
จุลินทรีย์ แบซิลลัส ซับทิลิส article
116 肥 ไม่เชื่อไม่ได้แล้ว ! ไม่ใช้ก็คงไม่ได้แล้ว (เหมือนกัน) article
คุณเข้าใจ และ ตระหนักถึงความสำคัญของ article
อุปกรณ์ที่จะช่วยชาวไร่ข้าวโพดขายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น article
ผลลัพธ์ที่ปรากฏให้เห็นโดยไม่ได้ตั้งใจ article
โปรตีนอะไรที่สร้างความต้านทานโรคพืชได้ article
จ้าว หย่งเลี่ยง คนเยี่ยงนี้ยังมีอยู่หรือ ?
ไก่เบตงมาจากไหน ? ไม่ใกล้ไม่ไกล ที่นี่นี้เอง ?
ฟูเซียวเฝิ่นน่า (复硝酚钠)
จากเมล็ดพันธุ์ 3 เมล็ดสุดท้าย สู่อาณาจักร มาคา - ไวอะกร้า ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ article
ผลผลิตรากบัว จาก 4,800 กก. ต่อไร่ เพิ่มเป็น 14,400 กก. ต่อไร่ ทำได้อย่างไร ?
เอาผงชูรสมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย เพิ่มผลผลิตได้เท่าตัว
นี่มันลูกแตงโมนะ ไม่ใช่ลูกโบว์ลิ่ง article
อะไรเอ่ย ทั้งแข็งทั้งอร่อย article
ต้นไม้ที่ผลิตเกลือแกง article
หมูที่เลี้ยง-ขุนด้วยหนอนแมลงวัน คุณกล้ากินไหม ? article
แต้มจุดสีแดงบนใบข้าวเพื่อ .... article
อะไรนะ มีด้วยหรือ ปุ๋ยอากาศน่ะ ! article
หนานอวี้ เบอร์ 1 article
หนุ่มสติเฟื่องเพาะพันธุ์ เหรยินเซินกว่อ article
สวนเกษตรสาธิตไฮเทคระดับประเทศแห่งเมืองเทียนสุ่ย article
ต่าหังเทียนผาย เจ่าสวินฮว๋านลู่ ช่วงเจียกงเอยี๊ยะ ต้ายหนงหมินฝู๋ article
ศักราชใหม่ของเกษตรกรจีน article
ถ้าคุณต้องการเลี้ยงกุ้ง ปูปลา และสัตว์น้ำอื่นๆให้ได้ผลดี article
มะละกออวกาศ article
สัตว์ที่คนไทยเราขยะแขยง ประหวั่นพรั่นพรึง article
เอายอดมะระมาเสียบตอบวบดีอย่างไร ? article
หมาวฮวามี่เหาถาว 毛花猕猴桃 สายพันธุ์ใหม่ วอลเท่อร์ (华特 / Walther) article
สวี ไหว่จง (徐 伟忠) article
กุหลาบ 7 สี หรือ กุหลาบสายรุ้ง 彩虹玫瑰 article
วิธีไหนดีกว่ากัน? article
ไก่เหวินชาง (อีกแล้ว) article
เตาแก๊สเกษตร article
มู่กวา (木瓜) article
เริ่มแล้ว อลังการยิ่งใหญ่ตระการตาน่าชมชื่น article
นี่ก็ใช่เหมือนกัน article
ปลูกข้าวในทะเลทรายโกบี ? article
ปลูกมันฝรั่งในอากาศ article
จินกวา หรือ หนานกวา ? article
ไก่เนื้อที่ขึ้นชื่อลือชาว่ารสชาติอร่อยที่สุดในเกาะไหหลำ article
ไปเทียว ห่ายหนานต่าว (เกาะไหหลำ) article
อยี่ หวงหวาง จิน article
ข้าวไผ่ article
นาโนเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ article
เต้าเกอ article
พริก พริก พริก ที่นี่มีแต่พริกทั้งนั้น article
นาซี 778 ขจรขจายทั่วผืนแผ่นดินจีน article
แตงโมอวกาศมาที่รอคอย ถึงเวลาปลูกให้ลิ้มชิมรสแล้ว article
ผลิตภัณฑ์ใหม่ทางการเกษตรที่ทรงประสิทธิภาพในประเทศจีน article
อาหารดัดแปรพันธุกรรมปลอดภัยหรือไม่ ? article
เบิ่งมองการเกษตรประเทศจีน article
สบู่ดำที่เกาะห่ายหนาน article
เอทานอลจากต้นข้าวโพด article
หญ้าที่โตเร็วที่สุดในโลก article
ข้าวหอมสายพันธุ์ใหม่ที่กว่างซี article
ตลาดผัก-ผลไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน article
เตาแก๊สแรงดันสูง (เตาฟู่) ที่ประหยัดแก๊สถึง 2 ขั้นตอน article
การผลิตพันธุ์ข้าวลูกผสมทำได้อย่างไร ? article
อาร์ติโชค (artichoke) article
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ไข่ไก่ article
เตาแก๊สชีวมวลประสิทธิภาพสูง article
เตาผลิตแก๊สจากไม้ฟืนและเศษเหลือทิ้งจากพืชไร่ article
ขโมยวัวข้าหรือ ? บอกได้เลยว่า ยากซ์........ซ article
แบตเตอรี่เก่า อย่าเพิ่งเปลี่ยน หรือ โยนทิ้งไป article
ซื้อแต่เตา แล้วมีแก๊สใช้ตลอดไป ! article
เครื่องดำนาขนาดเล็ก article
ต้นมะเขือออกผลเป็นไข่ไก่ ? article
เดินทางเยี่ยมเยือน เฉิงตู นครแห่งไม้ดอก article
เว็บไซท์ทางการของจีน article
นิทัศน์การแสดงสินค้า-อุปกรณ์และเทคโนโลยีการเก็บรักษาความสดผลผลิตทางการเกษตรนานาชาติครั้งที่สอง article
เสื้อผ้าที่ถักทอตัดเย็บมาจากไม้ไผ่ article
พันธุ์ถั่วฝักยาวอวกาศ article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน III article
ของจริง มิใช่ของปลอม article
ฟักแฟง 9 ผล ราคาเหยียบ ห้าหมื่นบาท ! article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน II article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน article
ปลาอะไรเอ่ย มีราคาแพงที่สุดในโลก ? article
ข่าวดี article
ข้าวโพด มันฝรั่ง ที่สร้างภูมิคุ้มโรคได้ article
บอกอำลาควันไฟไปได้เลย article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Welcome to Eco-agrotech.com Photo Albums
Google