ReadyPlanet.com
dot dot
dot
นาซี 778 [Nashi 778]
dot
bulletรู้จักนาซี 778
bulletคุณสมบัติ
bulletประสิทธิภาพ
bulletวิธีใช้นาซี 778
bulletข้อควรระวัง
bulletทฤษฏี กลไก และ บทบาท
bulletขนาดและราคา
dot
นาโน 863 [Nano 863]
dot
bulletรู้จักนาโน 863
bulletประสิทธิภาพ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเพาะปลูก
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการปศุสัตว์
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเห็ด
bulletขนาดและราคา
dot
นาโนบอล [Nano Ball]
dot
bulletรู้จักนาโนบอล
bulletวิธีใช้นาโนบอล
bulletราคา
dot
นาโนสทีค [Nano Stick]
dot
bulletรู้จักนาโนสทีค
bulletราคา
dot
Download Brochures
dot
bulletโปรชัวร์นาซี 778 และนาโน 863
dot
Photo Albums
dot
bulletอัลบั้มรูปผลผลิตต่างๆที่ได้จากนาซี 778
dot
รายงานผลการใช้ผลิตภัณฑ์
dot
bulletสารสมุนไพรนาซี 778
dot
สั่งซื้อผลิตภัณฑ์
dot
bulletหมวดหมู่สินค้า
dot
ตะกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00บาท
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
bulletยืนยันการโอนเงิน
bulletตรวจสอบสถานะสั่งซื้อสินค้า
dot
สมัครรับข่าวสาร

dot


Go to Nanosoeasy.com
Nano 863 Video Clip #1
Nano 863 Video Clip #10
Nano 863 Video Clip #9
Nano 863 Video Clip #8
Nano 863 Video Clip #7
Nano 863 Video Clip #6
Nano 863 Video Clip #5
Nano863 Video Clip #3
Nano 863 Video Clip #2


คุณกินอาหารตัดต่อ ดัดแปรพันธุกรรม (GMO) แล้วหรือยัง? (I) article


ผู้บริโภคบางรายตรวจสอบรายละเอียด
ของผลิตภัณฑ์ก่อนซื้อ ว่าเป็น
จีเอ็มโอหรือไม่ด้วยยังไม่มั่นใจต่อความ
ปลอดภัยต่อสุขภาพและชีวิต

  

นับตั้งแต่มีการผลิตพืชพรรณธัญหารตัดแต่งพันธุกรรมในเชิงอุตสาหกรรมและนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าพาณิชย์กรรมอย่างกว้างขวางในปี 1,996 เป็นต้นมาที่ พื้นที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกพืชดัดแปรพันธุกรรมเหล่านี้เริ่มจาก 2 ล้าน เฮ็กแตร์ ในปี 1,996 เพิ่มสูงขึ้นเป็น 52 ล้าน 6 แสน เฮ็กแตร์ ในปี 2,001 คิดเป็นร้อยละ 2 ของพื้นที่เพาะปลูกทั่วโลก โดยที่พื้นที่เพาะปลูกพืชเหล่านี้กระจายอยู่ในประเทศอเมริกา อาร์เจนตินาและแคนาดารวมแล้ว 99 % ส่วนที่เหลืออีก 1 % นั้นกระทำการเพาะปลูกอยู่ในประเทศบราซิล จีน อียิปต์ อินเดียและอาฟริกาใต้จำนวนเล็กน้อย ปัจจุบันได้มีผู้บริโภคอาหารพืชตัดแต่งพันธุกรรมเหล่านี้อยู่ประมาณ 2 พันล้านคน (จะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม) โดยที่ประเทศ สหร.อเมริกาเป็นประเทศผู้ผลิตอาหารดัดแปรพันธุกรรมรายใหญ่ที่สุด ประกอบไปด้วยธัญพืชจำพวกถั่วเหลือง 90 % ข้าวโพดและข้าวสาลีอย่างละ 50 % พืชผลที่ผลิตได้ทั้งหมดล้วนเป็นผลิตผลจากสายพันธุ์ปรับแต่งพันธุกรรมทั้งสิ้น และบรรดาผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป 60 % ขึ้นไปต่างมีส่วนของผลผลิตดัดแปรพันธุกรรมรวมอยู่ด้วยทั้งสิ้น



ผลิตภัณฑ์อาหารปรับแต่งพันธุกรรมหมายถึงผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากการแปรรูปผลิตผลที่ได้จากพืชที่มีการตัดต่อเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมมาแล้ว พืชพันธุ์ตัดต่อดัดแปลงพันธุกรรมที่ว่านี้ เกิดจากการนำเอาเทคโนโลยีทางชีววิทยา (Biological technology) มาประยุกต์ใช้ในการตัดต่อถ่ายโอนหน่วยพันธุกรรม (ยีน) ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปยังสิ่งที่มีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบอย่างการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ผิดแผกแตกต่างไปจากลักษณะเดิมที่มันเป็นอยู่ ทำให้รูปลักษณ์ ส่วนประกอบของโภชนาหาร และการใช้ประโยชน์เป็นไปตามความต้องการของมนุษย์เรา ในปัจจุบันยังไม่มีผลิตภัณฑ์ดัดแปรพันธุกรรมจากสัตว์ได้รับการอนุมัติให้ออกวางจำหน่ายยังท้องตลาด อาหารดัดแปรพันธุกรรมจึงมีอยู่แต่ในส่วนของผลิตผลจากพืชเท่านั้น เทคโนโลยีการตัดต่อถ่ายโอนพันธุกรรมในพืชจะยังผลให้พืชมีความต้านทานต่อโรคและแมลงได้ดีขึ้น สามารถเพาะปลูกเก็บเกี่ยวผลผลิตในพื้นที่ๆไม่เหมาะสมได้มากยิ่งขึ้น (สภาพดินเค็ม ดินเปรี้ยว โรค แมลงระบาด) และทำการเก็บรักษาพืชผลนั้นๆหลังเก็บเกี่ยวได้เป็นระยะเวลายาวนานกว่าปกติ อีกทั้งยังเพิ่มคุณค่าทางอาหารได้สูงกว่าเดิม อย่างเช่น ข้าวสีทอง  gold  rice ที่นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิสได้ปรับปรุงพันธุ์ขึ้นมานั้น มีส่วนของสาร เบต้าแคร์โรตีน สูงเป็นพิเศษ ซึ่งจะเป็นหนทางในการขจัด ป้องกันโรคที่เกิดจากการขาดไวตามินเอในหมู่ประชากรที่ยากไร้ห่างไกลความเจริญได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีการตัดต่อถ่ายโอนพันธุกรรมนี้ยังทำให้การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อให้ได้มาซึ่งสายพันธุ์ใหม่ๆในอัตราเร็วกว่าปกติเกือบเท่าตัว กล่าวได้ว่าเทคโนโลยี พันธุวิศวกรรม นี้จะเปิดโฉหน้าใหม่ของการเกษตรและจะเป็นการปฏิวัติเขียวอีกคำรบหนึ่งอย่างแน่นอน




ข้าวตัดต่อพันธุกรรมเมล็ดสี
เหลืองทองที่อุดมไปด้วยสาร
เบต้าแคโรทีน

 

 

 

 

จากความมานะหมั่นเพียรร่วม 20 ขวบปี ความก้าวหน้าทางในการวิจัยค้นคว้าทางวิศวพันธุกรรมของจีนได้ก้าวมายืนอยู่แถวแนวหน้าบรรดาประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหมด และความรู้ในขอบข่ายบางอย่างก็ถือได้ว่ามีความก้าวหน้ากว่าประเทศอื่นใดในโลก จะเป็นรองก็แต่ดินแดนอเมริกาเหนือเท่านั้น จากบทความจำนวน 14 หน้าที่ได้นำลงพิมพ์ในวารสาร “วิทยาศาสตร์” ที่แสดงความคิดเห็นของ ศาสตราจารย์ ยีจวิน (于军博士) เกี่ยวกับสาระบบของหน่วยพันธุกรรมในข้าว ฉบับวันที่ 5 เมษายน 2,002 ที่วิจารณ์เอาไว้ว่า จากช่วงเวลาแห่งเส้นทางวิชาการที่ผ่านมานั้น แสดงให้เห็นว่า ประเทศจีนได้ก้าวเข้าสู่แดนของการวิจัยค้นคว้าทางไบโอเทคโนโลยีโดยมิพักต้องกังขา ประเทศจีนมีสายพันธุ์ฝ้ายที่ต้านทานต่อแมลง มีสายพันธุ์ดอกพิททูเนียต้นเตี้ย พริกหวานและมะเขือเทศที่ต้านทานต่อโรคไวรัส ตลอดจนมะเขือที่ยืดอายุการเก็บเก็บได้นานวัน ซึ่งทั้งหมดนี้ได้มีการผลิตในเชิงพาณิชย์อุตสาหกรรมเกษตรกันแล้ว ในปัจจุบัน (2,002) ทางการจีนยังไม่อนุมัติให้ปลูกพืชน้ำมันที่มีการตัดต่อพันธุกรรมแม้แต่สายพันธุ์เดียว แต่ทว่าได้มีการนำเข้าพืชผลธัญหารดัดแปรพันธุกรรมในปี 2,000 สูงเป็น 100 เท่าของปี 1,996 เลยทีเดียว ซึ่งได้มีการประเมินกันว่า มีผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากพืชพรรณดัดแปรพันธุกรรมกว่า 20 ล้านตัน อย่างเช่น ในปี 2,001 นั้น จีนได้นำเข้าถั่วเหลือตัดต่อพันธุกรรมถึง 25 ล้านตัน นับเป็นปริมาณที่มากกว่าจีนผลิตได้เองทั้งปี บรรดาถั่วเหลืองเหล่านี้ได้นำไปเป็นวัตถุดิบเพื่อแปรรูปเป็น น้ำมัน เต้าหู้และ น้ำนมถั่วเหลือง เป็นอาหารในชีวิตประจำวันของประชาชนชาวจีนเกือบทั้งหมด




เกษตรไฮเทค

นักวิชาการรู้ แต่ยังไม่กล้าบอก
ปลูกข้าวในทะเลทราย โดยใช้เม็ดทรายเก็บกักน้ำไว้ทำนา
กดเอาไว้ อย่าให้โผล่ขึ้นมาได้ แล้วมันก็จะดีเอง!
กว่าจะเป็นตัวตนของตนเอง ต้องใช้เวลาเดินทางนานร่วม 60 ปี !
เบื้องหลังความสำเร็จรางวัลไวน์เหรียญทองนานาชาติของจีน
เคล็ดลับประหลาดที่ใช้ปลูกข้าวได้ผลดีเหลือเชื่อ
GMO
คาร์บอนไดออกไซด์ทำให้คุณภาพซากสุกรดีขึ้น
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) อีกแล้ว
จ่าวหลานต้านไป๋ (藻蓝蛋白 / Algal blue protein) article
เอ๊ะ ทำได้อย่างไร ?
并蒂荔枝 (ปิ้งตี้ลี่จือ) คืออะไร ?
คุณเชื่อหรือไม่ ปลูกต้นไม้ในทะเลทราย 10 วินาที ต่อ 1 ต้น อัตราการรอดสูงถึง 90 เปอร์เซ็นต์?
มหันต์ภัยเงียบก่อหายนะกำลังเผยตัวปรากฏให้เห็นแล้วอย่างชัดเจนในผืนแผ่นดินเพาะปลูก
ยาสูบมีโทษต่อร่างกาย ผู้เสพอาจถึงตายได้ แต่ ... นักวิทยาศาสตร์กลับนำมันมารักษาชีวิตคน ! article
ถึงเวลายาเคมีเกษตรต้องยาตราถอยทัพ
ยาเคมีหรือ ถอยให้ห่างไกลไปเลย
สารตัวนี้แหละที่ช่วยเร่งอัตราการสังเคราะห์แสงในพืช article
จุลินทรีย์ แบซิลลัส ซับทิลิส article
116 肥 ไม่เชื่อไม่ได้แล้ว ! ไม่ใช้ก็คงไม่ได้แล้ว (เหมือนกัน) article
คุณเข้าใจ และ ตระหนักถึงความสำคัญของ article
อุปกรณ์ที่จะช่วยชาวไร่ข้าวโพดขายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น article
ผลลัพธ์ที่ปรากฏให้เห็นโดยไม่ได้ตั้งใจ article
โปรตีนอะไรที่สร้างความต้านทานโรคพืชได้ article
จ้าว หย่งเลี่ยง คนเยี่ยงนี้ยังมีอยู่หรือ ?
ไก่เบตงมาจากไหน ? ไม่ใกล้ไม่ไกล ที่นี่นี้เอง ?
ฟูเซียวเฝิ่นน่า (复硝酚钠)
จากเมล็ดพันธุ์ 3 เมล็ดสุดท้าย สู่อาณาจักร มาคา - ไวอะกร้า ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ article
ผลผลิตรากบัว จาก 4,800 กก. ต่อไร่ เพิ่มเป็น 14,400 กก. ต่อไร่ ทำได้อย่างไร ?
เอาผงชูรสมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย เพิ่มผลผลิตได้เท่าตัว
นี่มันลูกแตงโมนะ ไม่ใช่ลูกโบว์ลิ่ง article
อะไรเอ่ย ทั้งแข็งทั้งอร่อย article
ต้นไม้ที่ผลิตเกลือแกง article
หมูที่เลี้ยง-ขุนด้วยหนอนแมลงวัน คุณกล้ากินไหม ? article
แต้มจุดสีแดงบนใบข้าวเพื่อ .... article
อะไรนะ มีด้วยหรือ ปุ๋ยอากาศน่ะ ! article
หนานอวี้ เบอร์ 1 article
หนุ่มสติเฟื่องเพาะพันธุ์ เหรยินเซินกว่อ article
สวนเกษตรสาธิตไฮเทคระดับประเทศแห่งเมืองเทียนสุ่ย article
ต่าหังเทียนผาย เจ่าสวินฮว๋านลู่ ช่วงเจียกงเอยี๊ยะ ต้ายหนงหมินฝู๋ article
ศักราชใหม่ของเกษตรกรจีน article
ถ้าคุณต้องการเลี้ยงกุ้ง ปูปลา และสัตว์น้ำอื่นๆให้ได้ผลดี article
มะละกออวกาศ article
สัตว์ที่คนไทยเราขยะแขยง ประหวั่นพรั่นพรึง article
เอายอดมะระมาเสียบตอบวบดีอย่างไร ? article
หมาวฮวามี่เหาถาว 毛花猕猴桃 สายพันธุ์ใหม่ วอลเท่อร์ (华特 / Walther) article
สวี ไหว่จง (徐 伟忠) article
กุหลาบ 7 สี หรือ กุหลาบสายรุ้ง 彩虹玫瑰 article
วิธีไหนดีกว่ากัน? article
ไก่เหวินชาง (อีกแล้ว) article
เตาแก๊สเกษตร article
มู่กวา (木瓜) article
เริ่มแล้ว อลังการยิ่งใหญ่ตระการตาน่าชมชื่น article
นี่ก็ใช่เหมือนกัน article
ปลูกข้าวในทะเลทรายโกบี ? article
ปลูกมันฝรั่งในอากาศ article
จินกวา หรือ หนานกวา ? article
ไก่เนื้อที่ขึ้นชื่อลือชาว่ารสชาติอร่อยที่สุดในเกาะไหหลำ article
ไปเทียว ห่ายหนานต่าว (เกาะไหหลำ) article
อยี่ หวงหวาง จิน article
ข้าวไผ่ article
นาโนเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ article
เต้าเกอ article
พริก พริก พริก ที่นี่มีแต่พริกทั้งนั้น article
นาซี 778 ขจรขจายทั่วผืนแผ่นดินจีน article
แตงโมอวกาศมาที่รอคอย ถึงเวลาปลูกให้ลิ้มชิมรสแล้ว article
ผลิตภัณฑ์ใหม่ทางการเกษตรที่ทรงประสิทธิภาพในประเทศจีน article
ไข่มุกดำที่มีรสชาติแสนโอชา article
อาหารดัดแปรพันธุกรรมปลอดภัยหรือไม่ ? article
เบิ่งมองการเกษตรประเทศจีน article
สบู่ดำที่เกาะห่ายหนาน article
เอทานอลจากต้นข้าวโพด article
หญ้าที่โตเร็วที่สุดในโลก article
ข้าวหอมสายพันธุ์ใหม่ที่กว่างซี article
ตลาดผัก-ผลไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน article
เตาแก๊สแรงดันสูง (เตาฟู่) ที่ประหยัดแก๊สถึง 2 ขั้นตอน article
การผลิตพันธุ์ข้าวลูกผสมทำได้อย่างไร ? article
อาร์ติโชค (artichoke) article
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ไข่ไก่ article
เตาแก๊สชีวมวลประสิทธิภาพสูง article
เตาผลิตแก๊สจากไม้ฟืนและเศษเหลือทิ้งจากพืชไร่ article
ขโมยวัวข้าหรือ ? บอกได้เลยว่า ยากซ์........ซ article
แบตเตอรี่เก่า อย่าเพิ่งเปลี่ยน หรือ โยนทิ้งไป article
ซื้อแต่เตา แล้วมีแก๊สใช้ตลอดไป ! article
เครื่องดำนาขนาดเล็ก article
ต้นมะเขือออกผลเป็นไข่ไก่ ? article
เดินทางเยี่ยมเยือน เฉิงตู นครแห่งไม้ดอก article
เว็บไซท์ทางการของจีน article
นิทัศน์การแสดงสินค้า-อุปกรณ์และเทคโนโลยีการเก็บรักษาความสดผลผลิตทางการเกษตรนานาชาติครั้งที่สอง article
เสื้อผ้าที่ถักทอตัดเย็บมาจากไม้ไผ่ article
พันธุ์ถั่วฝักยาวอวกาศ article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน III article
ของจริง มิใช่ของปลอม article
ฟักแฟง 9 ผล ราคาเหยียบ ห้าหมื่นบาท ! article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน II article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน article
ปลาอะไรเอ่ย มีราคาแพงที่สุดในโลก ? article
ข่าวดี article
ข้าวโพด มันฝรั่ง ที่สร้างภูมิคุ้มโรคได้ article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Welcome to Eco-agrotech.com Photo Albums
Google