ReadyPlanet.com
dot dot
dot
นาซี 778 [Nashi 778]
dot
bulletรู้จักนาซี 778
bulletคุณสมบัติ
bulletประสิทธิภาพ
bulletวิธีใช้นาซี 778
bulletข้อควรระวัง
bulletทฤษฏี กลไก และ บทบาท
bulletขนาดและราคา
dot
นาโน 863 [Nano 863]
dot
bulletรู้จักนาโน 863
bulletประสิทธิภาพ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเพาะปลูก
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการปศุสัตว์
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเห็ด
bulletขนาดและราคา
dot
นาโนบอล [Nano Ball]
dot
bulletรู้จักนาโนบอล
bulletวิธีใช้นาโนบอล
bulletราคา
dot
นาโนสทีค [Nano Stick]
dot
bulletรู้จักนาโนสทีค
bulletราคา
dot
Download Brochures
dot
bulletโปรชัวร์นาซี 778 และนาโน 863
dot
Photo Albums
dot
bulletอัลบั้มรูปผลผลิตต่างๆที่ได้จากนาซี 778
dot
รายงานผลการใช้ผลิตภัณฑ์
dot
bulletสารสมุนไพรนาซี 778
dot
สั่งซื้อผลิตภัณฑ์
dot
bulletหมวดหมู่สินค้า
dot
ตะกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00บาท
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
bulletยืนยันการโอนเงิน
bulletตรวจสอบสถานะสั่งซื้อสินค้า
dot
สมัครรับข่าวสาร

dot


Go to Nanosoeasy.com
Nano 863 Video Clip #1
Nano 863 Video Clip #10
Nano 863 Video Clip #9
Nano 863 Video Clip #8
Nano 863 Video Clip #7
Nano 863 Video Clip #6
Nano 863 Video Clip #5
Nano863 Video Clip #3
Nano 863 Video Clip #2


สวี ไหว่จง (徐 伟忠) article

สวี ไหว่จง (徐 伟忠)

สวี ไหว่จง (徐 伟忠)

 

สวี ไหว่จง (徐 伟忠) หากจะเรียกขานชื่อแซ่อย่างที่คนไทยเราคุ้นเคยก็คือ คุณไหว่จง แซ่สวี นั่นเอง การอ่านออกเสียงแซ่นั้น ให้อ่าน ส. กับ ว. ควบกล้ำกันว่า สวี อย่าได้อ่านเป็น สะหวี นะครับ เดี๋ยวคนจีนเขาจะเป็นงงเอา อาอายุ 41 ปี เชื้อสายชาวฮั่น เป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน เข้าเรียนที่วิทยาลัยเทคนิค และเข้าศึกษาต่อจนสำเร็จการศึกษาทางด้านพืชสวนจากโรงเรียนเกษตร ลี่สุ่ย (丽水 / เมืองๆหนึ่งของมณฑลเจ้อเจียง) จากประวัติการเรียนในวัยเด็ก สวี เป็นคนเรียนไม่เก่ง ต้องสอบซ่อมอยู่บ่อยครั้ง แต่มีความสนใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการ

ของพืชเป็นอย่างยิ่ง เมื่อจบการศึกษาแล้วได้ทุ่มศึกษาวิจัยงานทางด้านนี้อย่างหามรุ่งหามค่ำ ในปี 1990 – 1995 สมัครเข้ารับราชการที่ ตำบล ปี้เหอ () จังหวัดจิ้นอยีน (缙云) จวบจนกระทั่งปี 1995 – 2002 ได้ผลักดันให้ก่อตั้งสำนักงานเทคโนการเกษตรแห่งเมือง จิ้นอยีน ขึ้น หลังจากนั้นได้โยกย้ายไปทำงานที่ สำนักงานการเกษตรแห่งเมืองลี่สุ่ย ในกลางปี 2002 ปัจจุบันรั้งตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์วิจัยขยายพันธุ์พืชประยุกต์ ได้รับเลือกเป็น ยุวเกษตรตัวอย่าง จากการเป็นหัวหอกในการสร้างความมั่งคั่งให้แก่เกษตรกร และได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสิบ  ยุวเกษตรหนุ่มสาวดีเด่น รอบปีที่ 5 ที่จัดขึ้นในปี 2004 จนกระทั่งได้รับการคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมผู้นำเกษตรกรแห่งเมือง ลี่สุ่ย เป็นผู้อำนวยการสมาคมยุวชนเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ แห่งมณฑลเจ้อเจียง  เป็นผู้เชี่ยวชาญการเกษตร และเป็นกรรมการสมาพันธ์ยุวชนหนุ่มสาว – ผู้นำแบบอย่างการสร้างสรรค์ธุรกิจแห่งเมืองลี่สุ่ย และในเวทีโลกนั้น ผลงานของเขานั้นโด่งดังจนกระทั่ง กลุ่มทุนยักษ์ใหญ่ที่ชื่อว่า โกลด์แมน แซคส์  (高盛集团-GOLDMAN SACHS GROUP INC) ได้ติดต่อทาบทามให้ไปเป็น CEO ฝ่ายเทคโนโลยี กินเงินเดือน เดือนละ 2 ล้านบาท แต่ ..  สวี ไหว่จง ได้ตอบปฏิเสธไป  ท่านเป็นคนถ่อมตน ไม่ถือตัว อยู่อย่างง่ายๆ แต่งกายง่ายๆ จนบางครั้งผู้เข้าพบเข้าใจว่าท่านเป็นคนงานด้วยซ้ำไปก็มี แต่สิ่งหนึ่งที่ควรชื่นชมยกย่องก็คือ ท่านมิได้หวงวิชาที่คิดค้นวิจัยแม้แต่น้อย ท่านเสียสละเวลา ทุนทรัพย์ ให้การอบรม ให้การเรียนรู้แก่เกษตรกร และผู้ที่สนใจโดยไม่เรียกเก็บค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น (ผมได้ไปศึกษาอบรมที่ศูนย์ ลี่สุ่ยซื่อ เป็นเวลา 4 วัน เมื่อ 7 ปีที่แล้ว ประทับใจในการวางตัวของท่านมาก เป็นกันเอง ผิดกับนักวิชาการไทยเราบางคนที่ชอบวางตัวราวกับเทวดา)

ในช่วงระยะเวลาแค่ปีเศษๆ สวี ไหว่จงได้คิดค้นเทคนิคการขยายพันธุ์พืชในแนวทางอุตสาหกรรม (ขยายพันธุ์พืชได้จำนวนมากๆ ในเวลาที่สั้นๆ) ที่เรียกว่าการโคลนนิ่ง อันเป็นวิธีการจำลองพันธุ์โดยวิธีง่ายๆ ไม่ต้องใช้อุปกรณ์หลอดทดลองเหมือนกับการปั่นเนื้อเยื่อในห้องปฏิบัติการ เป็นการจำลองพันธุ์ในสภาพกลางแจ้งที่ดูผิวเผินเหมือนกับการเพาะชำธรรมดา แต่มีประสิทธิภาพที่สูงกว่ากันมาก สามารถผลิตต้นพันธุ์กล้าได้คราวละมากๆ โดยใช้เวลาที่น้อยกว่ากันมาก สามารถเพาะชำกล้าไม้ที่เกิดรากได้ยากยิ่งยวดที่ต้องอาศัยการปั่นเนื้อเยื่อเท่านั้น แต่สามารถทำได้อย่างง่ายดายโดยวิธีการจำลองพันธุ์ในสภาพกลางแจ้ง ตัวอย่างเช่น การขยายพันธุ์ต้น หงเต้าซาน (红豆杉) ที่ปกติเพาะต้องใช้เวลาร่วมปีกว่าจะได้ต้นกล้าเพียง 25 ต้นจากจำนวนร้อยเท่านั้น แต่อาศัยหนทางการจำลองพันธุ์นี้แล้ว ใช้เวลาแค่ 25 วันก็ได้กล้าพันธุ์กว่า 90 % เลยทีเดียว (ต้นหงเต้าซานเป็นพืชอนุรักษ์ชั้น 1 ของประเทศจีน สารสกัดจากใบนำมาผลิตเป็นยาต้านมะเร็งเต้านมที่ได้ผลดีเยี่ยม) ปัจจุบันมีการปลูกกันอย่างกว้างขวางเหมือนกับการปลูกชาบนเขาเป็นลูกๆเกือบทั้งเมืองเลยทีเดียว สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรอย่างล้นเหลือ ถือเป็นผลงานที่มีคุณค่าต่อเกษตรกรเป็นอย่างยิ่ง

นอกจากนี้ สวี ไหว่จง ยังได้คิดค้นเทคนิคการปลูกพืชในน้ำโดยการชักนำให้พืชเกิดระบบรากที่ดูดซับอากาศในน้ำได้ด้วยตนเอง (ไม่ต้องพึ่งพาเครื่องป้อนอากาศดังที่กระทำกันในการปลูกพืช ไฮโดรโปนิค) /  ประดิษฐ์สมองกล (คอมพิวเตอร์) ที่ใช้ควบคุมปัจจัยภายในโรงเรือนเพาะชำ / ประดิษฐ์ระบบการป้อนอาหาร (ปุ๋ย) และน้ำในการเพาะปลูก / คิดหาวิธีการเพาะกล้าอ่อนที่ใช้ในการบริโภค (อย่างเช่นถั่วงอก เต้าเหมียว วีดแกรส เป็นต้น ซึ่งโดยความเป็นจริงแล้ว ชาวจีนมิได้บริโภคต้นอ่อนของพืชที่ผลิตจากเมล็ดถั่วอย่างถั่วงอกที่บ้านเรานิยมกินกันชนิดเดียว แต่มีการบริโภคต้นอ่อนของพืชหลากหลายชนิดกว่านั้น เอาไว้มีเวลาแล้วจะนำไปกิน อ๊ะ ... มิได้ นำไปดูทางเน็ตนะครับ) ด้วยวิถีทางที่ชาญฉลาด (ระบบอัตโนมัตินั่นเอง) / การปลูกพืชในระบบท่อ / ประดิษฐ์เครื่องสร้างสนามพลังแม่เหล็ก / สร้างระบบการถ่ายทอดความรู้ทางการเกษตรทางไกล (ทางอินเตอร์เน็ตนั่นแหละ) /  สร้างระบบการเพาะปลูกพืชด้วยการพ่นอาหารพืชเหลวในรูปละอองฝอยโดยตรงแก่ระบบรากพืชที่ควบคุมขบวนการผลิตพืชด้วยน้ำในเชิงพาณิชย์ / วางแนวทางในการจัดการพืชผักผลไม้อย่างเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ / จัดตั้งระบบการจัดการ - ดูแลสนามหญ้า - ไม้ดอก – ไม้ประดับภูมิทัศน์ในตัวเมือง / ระบบการฉีดพ่นยาอันชาญฉลาดในสวนองุ่น / ประดิษฐ์ ใบไม้เทียม ที่ส่งถ่ายข้อมูลปัจจัยความต้องการของต้นพืชในการขยายพันธุ์และการเพาะปลูก รวมทั้งการเพาะปลูกที่เรียกว่า   超声波气体植物组织培养技术 (เทคนิคการป้อนสารละลายอาหารพืชในรูปของไอละเหยโดยใช้อุปกรณ์สร้างไอที่มีความถี่เหนือเสียงที่เรียกว่า ไอเย็น นั่นเอง) ผลงานของท่าน  สวี ไหว่จง ช่างมากมายและใช้ในเวลาที่แสนสั้น น่าทึ่ง ผลงานล่าสุดนั้นก็ได้ไอเดียจากสนามกีฬา รังนก ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิคที่เพิ่งผ่านพ้นไปหมาดๆนี้นี่เอง ด้วยการจัดสร้างโรงเพาะชำเป็นโครงข่ายเหล็กเลียนแบบ โดมรังนก แต่ทว่าเป็นโดมรูปทรงกลม ที่ใช้ฟองอากาศเป็นตัวควบคุมปริมาณความเข้มของแสง (เอ ชักงงแล้วสิเรา)  เป็นอย่างไร ติดตามผมมาแล้วกัน แล้วจะได้รู้ว่า อะไรกันแน่ แน่จริงหรือ หรือแน่ไม่จริง ก็จะได้รู้กันอย่างแน่นอน

สวี ไหว่จง (徐 伟忠) หากจะเรียกขานชื่อแซ่อย่างที่คนไทยเราคุ้นเคยก็คือ คุณไหว่จง แซ่สวี นั่นเอง การอ่านออกเสียงแซ่นั้น ให้อ่าน ส. กับ ว. ควบกล้ำกันว่า สวี อย่าได้อ่านเป็น สะหวี นะครับ เดี๋ยวคนจีนเขาจะเป็นงงเอา อาอายุ 41 ปี เชื้อสายชาวฮั่น เป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน เข้าเรียนที่วิทยาลัยเทคนิค และเข้าศึกษาต่อจนสำเร็จการศึกษาทางด้านพืชสวนจากโรงเรียนเกษตร ลี่สุ่ย (丽水 / เมืองๆหนึ่งของมณฑลเจ้อเจียง) จากประวัติการเรียนในวัยเด็ก สวี เป็นคนเรียนไม่เก่ง ต้องสอบซ่อมอยู่บ่อยครั้ง แต่มีความสนใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการ

ของพืชเป็นอย่างยิ่ง เมื่อจบการศึกษาแล้วได้ทุ่มศึกษาวิจัยงานทางด้านนี้อย่างหามรุ่งหามค่ำ ในปี 1990 – 1995 สมัครเข้ารับราชการที่ ตำบล ปี้เหอ () จังหวัดจิ้นอยีน (缙云) จวบจนกระทั่งปี 1995 – 2002 ได้ผลักดันให้ก่อตั้งสำนักงานเทคโนการเกษตรแห่งเมือง จิ้นอยีน ขึ้น หลังจากนั้นได้โยกย้ายไปทำงานที่ สำนักงานการเกษตรแห่งเมืองลี่สุ่ย ในกลางปี 2002 ปัจจุบันรั้งตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์วิจัยขยายพันธุ์พืชประยุกต์ ได้รับเลือกเป็น ยุวเกษตรตัวอย่าง จากการเป็นหัวหอกในการสร้างความมั่งคั่งให้แก่เกษตรกร และได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสิบ  ยุวเกษตรหนุ่มสาวดีเด่น รอบปีที่ 5 ที่จัดขึ้นในปี 2004 จนกระทั่งได้รับการคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมผู้นำเกษตรกรแห่งเมือง ลี่สุ่ย เป็นผู้อำนวยการสมาคมยุวชนเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ แห่งมณฑลเจ้อเจียง  เป็นผู้เชี่ยวชาญการเกษตร และเป็นกรรมการสมาพันธ์ยุวชนหนุ่มสาว – ผู้นำแบบอย่างการสร้างสรรค์ธุรกิจแห่งเมืองลี่สุ่ย และในเวทีโลกนั้น ผลงานของเขานั้นโด่งดังจนกระทั่ง กลุ่มทุนยักษ์ใหญ่ที่ชื่อว่า โกลด์แมน แซคส์  (高盛集团-GOLDMAN SACHS GROUP INC) ได้ติดต่อทาบทามให้ไปเป็น CEO ฝ่ายเทคโนโลยี กินเงินเดือน เดือนละ 2 ล้านบาท แต่ ..  สวี ไหว่จง ได้ตอบปฏิเสธไป  ท่านเป็นคนถ่อมตน ไม่ถือตัว อยู่อย่างง่ายๆ แต่งกายง่ายๆ จนบางครั้งผู้เข้าพบเข้าใจว่าท่านเป็นคนงานด้วยซ้ำไปก็มี แต่สิ่งหนึ่งที่ควรชื่นชมยกย่องก็คือ ท่านมิได้หวงวิชาที่คิดค้นวิจัยแม้แต่น้อย ท่านเสียสละเวลา ทุนทรัพย์ ให้การอบรม ให้การเรียนรู้แก่เกษตรกร และผู้ที่สนใจโดยไม่เรียกเก็บค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น (ผมได้ไปศึกษาอบรมที่ศูนย์ ลี่สุ่ยซื่อ เป็นเวลา 4 วัน เมื่อ 7 ปีที่แล้ว ประทับใจในการวางตัวของท่านมาก เป็นกันเอง ผิดกับนักวิชาการไทยเราบางคนที่ชอบวางตัวราวกับเทวดา) 

 

 คณะกรรมการพิจารณาผลงานประดิษฐ์คิดค้นทางการเกษตรได้พิจารณาผลงานของท่าน สวี ไหว่จง และสรุปผลเห็นต้องพ้องกันว่า เทคนิคการขยายพันธุ์พืชโดยการจำลองพันธุ์โดยไม่ต้องใช้หลอดทดลองนั้น เป็นผลงานที่ก้าวล้ำนำยุคของประเทศ (จีน) สมควรได้รับรางวัลยอดเยี่ยมเทคโนโลยีก้าวหน้าแห่งเมืองลี่สุ่ย ได้รับรางวัลผลงานดาวรุ่งของประเทศอีกด้วย อีกทั้งผลงานชิ้นนี้ยังได้รับการประเมินคุณค่าของงานวิจัยค้นคว้าจากคณะกรรมการทรงคุณวุฒิของประเทศว่ามีมูลค่าสูงถึง 700 ล้านบาทเลยทีเดียว และผลงาน ระบบสมองกลควบคุมปัจจัยในโรงเรือนเพาะชำนั้น ได้รับการยกย่องเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่ก้าวหน้าในงานนิทัศน์การเทคโนโลยีใหม่ครั้งที่ 3 ที่ได้รับการสนับสนุนผลักดันให้นำไปใช้กันทั่วประเทศอีกด้วย

 

งานวิจัยคิดค้นทั้งหมดของท่านนั้น เมื่อนำมาประยุกต์ใช้แล้ว ก่อให้เกิดผลผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมโหฬาร มะเขือเทศต้นหนึ่งให้ผลผลิตมากถึงหมื่นกว่าผล  ฟักทองมีขนาดใหญ่น้ำหนักสูงร่วม 150 กิโลกรัม แตงกวาเถาหนึ่งให้ผลเก็บเกี่ยว

 

หมายเหตุ


ท่านผู้อ่านที่สนใจเทคโนโลยีที่คุณ สวี ไหว่จง นำมาประยุกต์ใช้ในวงการเพาะปลูก สามารถเข้าไปดูในเว็บไซท์ต่อไปนี้
:
การจำลองพันธุ์พืช (โคลนนิ่งพืชด้วยใบ)

 


โดยให้สังเกตกรอบสี่เหลี่ยมใต้มือชี้ ที่มีหนังสือจีนเป็นแถวดังนี้ 植物克隆生根图库 (อัลบั้มตัวอย่างรูปการเกิดรากของพืชชนิดต่างๆโดยการจำลองพันธุ์)
 :  克隆生根图库  (หนังสือแต่ละแถว มีความหมายต่อไปนี้)
 

果树类   ไม้ผล

药材类   พืชสมุนไพร 

花草类   ไม้ดอก 

绿化类    ไม้ประดับภูมิทัศน์เพื่อสร้างพื้นที่สีเขียว  

蔬菜类   พืชผักล้มลุก 

林业类    ไม้สร้างสวนป่า 

经济类    พืชเศรษฐกิจ 

驱蚊草图片库    พืชไล่ยุง (พืชชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นขับไล่ยุงได้)

野菜类    พืชผักป่าดงดอย 

 

เว็บไซท์ : 

 http://zwkf.net/XXLR1.ASP?ID=11490   

 
http://www.zwkf.net/xxlr1.asp?id=11463

 
http://www.zwkf.net/xxlr1.asp?ID=11460

 
http://yubest.com/jjbst/Html/?1561.html

 
http://www.zwkf.net/userweb/web554/xxlr1.asp?id=11203

เป็นเว็บไซท์รายละเอียดแผนผัง โครงสร้าง เรือนเพาะปลูกโดมรังนกทรงกลมที่สร้างขึ้นจุดมุ่งหมายเพื่อการเกษตรในเชิง ท่องเที่ยวทัศนาเรียนรู้เทคโนโลยีเกษตรแผนใหม่ (ดูรูปภาพไปก่อน รายละเอียดจะแจงมาให้ทราบในโอกาสต่อไป)

 

 

เว็บไซท์ : http://yubest.com/jjbst/Html/?1564.html

เป็นเว็บไซท์ทางด้านการปลูกพืชโดยวิธีป้อนอาหารไอระเหยเย็นที่ทำให้พืชเจริญเติบโตได้เร็วที่สุด เร็วกว่าวิธีอื่นใดทั้งหมด และสะอาดเป็นที่สุด

ทำไมจึงต้องเป็นโรงเรือนโดมทรงกลม ? โดมทรงกลมดีอย่างไร ?

คำถามนี้ ถ้าเราๆท่านๆที่อาศัยอยู่ในเขตุร้อนอย่างประเทศไทยเราคงฉุกคิดไม่ถึง แต่ถ้าเป็นแถบประเทศที่มีอากาศหนาวเย็นมีหิมะตกแล้วละก้อ คำตอบก็คงไม่ต้องขบคิดมากนัก เพราะถ้าเป็นโรงเรือนพื้นเรียบราบแล้วละก้อ หิมะที่ตกทับถมกันจำนวนมากนั้น น้ำหนักไม่ใช่เบา สามารถทำให้โรงเรือนพังพับพาบกันมากต่อมากแล้ว โดมทรงกลมจึงแก้ไขปัญหาที่ว่านี้ได้อย่างดีเยี่ยมแล้ว โครงสร้างทรงกลมยังแข็งแกร่งที่สุดในบรรดารูปทรงอื่นๆทั้งหมด ไม่เพียงเท่านี้ ทรงกลมยังมีพื้นที่ใช้งานมากที่สุดอีกด้วย รวมทั้งค่าใช้จ่ายก็ถูกที่สุดด้วยเช่นกัน (จริงสิ ทำไมเราจึงคิดไม่ถึงนะ)

ท้ายที่สุดนี้ เพื่อเป็นการผ่อนเบาการงาน ทุกท่านสามารถเข้าถึงเว็บไซท์ต่างๆได้ด้วยตนเอง ผมจึงแนะวิธีเข้าถึงเว็บไซท์รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการเพาะปลูกที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยค้นคว้าทางด้านต่างๆของศูนย์ขยายพันธุ์พืชประยุกต์ แห่งเมืองลี่สุ่ย ดังต่อไปนี้
ให้ทำการคัดลอกหรือตัด ประโยคคำภาษาจีนแต่ละประโยค แล้วนำไปวางแปะที่กรอบค้นหารูปภาพของ GOOGLE ก็จะปรากฏรูปภาพจำนวนมากให้เข้าไปดูได้อย่างจุใจ แต่บางรูปก็มิได้เกี่ยวข้องกัน อันนี้ต้องใช้วิจารณญาณดูเอาเอง

จำลองพันธุ์ด้วยใบ           植物快繁

ปลูกพืชในน้ำ               水培蔬菜

ปลูกพืชในอากาศ            气雾培

โรงเรือนเพาะปลูกโดมรังนก     鸟巢温室

มะเขืองเทศ                              番茄王

ขอให้สนุกและเพลิดเพลินกับรูปภาพเหล่านี้นะครับ  เมื่อได้ดูผ่านหูผ่านตาแล้ว อาจจุดประกายความคิดใหม่ๆขึ้นมาได้บ้าง สวัสดี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 




เกษตรไฮเทค

นักวิชาการรู้ แต่ยังไม่กล้าบอก
ปลูกข้าวในทะเลทราย โดยใช้เม็ดทรายเก็บกักน้ำไว้ทำนา
กดเอาไว้ อย่าให้โผล่ขึ้นมาได้ แล้วมันก็จะดีเอง!
กว่าจะเป็นตัวตนของตนเอง ต้องใช้เวลาเดินทางนานร่วม 60 ปี !
เบื้องหลังความสำเร็จรางวัลไวน์เหรียญทองนานาชาติของจีน
เคล็ดลับประหลาดที่ใช้ปลูกข้าวได้ผลดีเหลือเชื่อ
GMO
คาร์บอนไดออกไซด์ทำให้คุณภาพซากสุกรดีขึ้น
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) อีกแล้ว
จ่าวหลานต้านไป๋ (藻蓝蛋白 / Algal blue protein) article
เอ๊ะ ทำได้อย่างไร ?
并蒂荔枝 (ปิ้งตี้ลี่จือ) คืออะไร ?
คุณเชื่อหรือไม่ ปลูกต้นไม้ในทะเลทราย 10 วินาที ต่อ 1 ต้น อัตราการรอดสูงถึง 90 เปอร์เซ็นต์?
มหันต์ภัยเงียบก่อหายนะกำลังเผยตัวปรากฏให้เห็นแล้วอย่างชัดเจนในผืนแผ่นดินเพาะปลูก
ยาสูบมีโทษต่อร่างกาย ผู้เสพอาจถึงตายได้ แต่ ... นักวิทยาศาสตร์กลับนำมันมารักษาชีวิตคน ! article
ถึงเวลายาเคมีเกษตรต้องยาตราถอยทัพ
ยาเคมีหรือ ถอยให้ห่างไกลไปเลย
สารตัวนี้แหละที่ช่วยเร่งอัตราการสังเคราะห์แสงในพืช article
จุลินทรีย์ แบซิลลัส ซับทิลิส article
116 肥 ไม่เชื่อไม่ได้แล้ว ! ไม่ใช้ก็คงไม่ได้แล้ว (เหมือนกัน) article
คุณเข้าใจ และ ตระหนักถึงความสำคัญของ article
อุปกรณ์ที่จะช่วยชาวไร่ข้าวโพดขายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น article
ผลลัพธ์ที่ปรากฏให้เห็นโดยไม่ได้ตั้งใจ article
โปรตีนอะไรที่สร้างความต้านทานโรคพืชได้ article
จ้าว หย่งเลี่ยง คนเยี่ยงนี้ยังมีอยู่หรือ ?
ไก่เบตงมาจากไหน ? ไม่ใกล้ไม่ไกล ที่นี่นี้เอง ?
ฟูเซียวเฝิ่นน่า (复硝酚钠)
จากเมล็ดพันธุ์ 3 เมล็ดสุดท้าย สู่อาณาจักร มาคา - ไวอะกร้า ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ article
ผลผลิตรากบัว จาก 4,800 กก. ต่อไร่ เพิ่มเป็น 14,400 กก. ต่อไร่ ทำได้อย่างไร ?
เอาผงชูรสมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย เพิ่มผลผลิตได้เท่าตัว
นี่มันลูกแตงโมนะ ไม่ใช่ลูกโบว์ลิ่ง article
อะไรเอ่ย ทั้งแข็งทั้งอร่อย article
ต้นไม้ที่ผลิตเกลือแกง article
หมูที่เลี้ยง-ขุนด้วยหนอนแมลงวัน คุณกล้ากินไหม ? article
แต้มจุดสีแดงบนใบข้าวเพื่อ .... article
อะไรนะ มีด้วยหรือ ปุ๋ยอากาศน่ะ ! article
หนานอวี้ เบอร์ 1 article
หนุ่มสติเฟื่องเพาะพันธุ์ เหรยินเซินกว่อ article
สวนเกษตรสาธิตไฮเทคระดับประเทศแห่งเมืองเทียนสุ่ย article
ต่าหังเทียนผาย เจ่าสวินฮว๋านลู่ ช่วงเจียกงเอยี๊ยะ ต้ายหนงหมินฝู๋ article
ศักราชใหม่ของเกษตรกรจีน article
ถ้าคุณต้องการเลี้ยงกุ้ง ปูปลา และสัตว์น้ำอื่นๆให้ได้ผลดี article
มะละกออวกาศ article
สัตว์ที่คนไทยเราขยะแขยง ประหวั่นพรั่นพรึง article
เอายอดมะระมาเสียบตอบวบดีอย่างไร ? article
หมาวฮวามี่เหาถาว 毛花猕猴桃 สายพันธุ์ใหม่ วอลเท่อร์ (华特 / Walther) article
กุหลาบ 7 สี หรือ กุหลาบสายรุ้ง 彩虹玫瑰 article
วิธีไหนดีกว่ากัน? article
ไก่เหวินชาง (อีกแล้ว) article
เตาแก๊สเกษตร article
มู่กวา (木瓜) article
เริ่มแล้ว อลังการยิ่งใหญ่ตระการตาน่าชมชื่น article
นี่ก็ใช่เหมือนกัน article
ปลูกข้าวในทะเลทรายโกบี ? article
ปลูกมันฝรั่งในอากาศ article
จินกวา หรือ หนานกวา ? article
ไก่เนื้อที่ขึ้นชื่อลือชาว่ารสชาติอร่อยที่สุดในเกาะไหหลำ article
ไปเทียว ห่ายหนานต่าว (เกาะไหหลำ) article
อยี่ หวงหวาง จิน article
ข้าวไผ่ article
นาโนเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ article
เต้าเกอ article
พริก พริก พริก ที่นี่มีแต่พริกทั้งนั้น article
นาซี 778 ขจรขจายทั่วผืนแผ่นดินจีน article
แตงโมอวกาศมาที่รอคอย ถึงเวลาปลูกให้ลิ้มชิมรสแล้ว article
ผลิตภัณฑ์ใหม่ทางการเกษตรที่ทรงประสิทธิภาพในประเทศจีน article
ไข่มุกดำที่มีรสชาติแสนโอชา article
อาหารดัดแปรพันธุกรรมปลอดภัยหรือไม่ ? article
เบิ่งมองการเกษตรประเทศจีน article
สบู่ดำที่เกาะห่ายหนาน article
เอทานอลจากต้นข้าวโพด article
หญ้าที่โตเร็วที่สุดในโลก article
ข้าวหอมสายพันธุ์ใหม่ที่กว่างซี article
ตลาดผัก-ผลไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน article
เตาแก๊สแรงดันสูง (เตาฟู่) ที่ประหยัดแก๊สถึง 2 ขั้นตอน article
การผลิตพันธุ์ข้าวลูกผสมทำได้อย่างไร ? article
อาร์ติโชค (artichoke) article
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ไข่ไก่ article
เตาแก๊สชีวมวลประสิทธิภาพสูง article
เตาผลิตแก๊สจากไม้ฟืนและเศษเหลือทิ้งจากพืชไร่ article
ขโมยวัวข้าหรือ ? บอกได้เลยว่า ยากซ์........ซ article
แบตเตอรี่เก่า อย่าเพิ่งเปลี่ยน หรือ โยนทิ้งไป article
ซื้อแต่เตา แล้วมีแก๊สใช้ตลอดไป ! article
เครื่องดำนาขนาดเล็ก article
ต้นมะเขือออกผลเป็นไข่ไก่ ? article
เดินทางเยี่ยมเยือน เฉิงตู นครแห่งไม้ดอก article
เว็บไซท์ทางการของจีน article
นิทัศน์การแสดงสินค้า-อุปกรณ์และเทคโนโลยีการเก็บรักษาความสดผลผลิตทางการเกษตรนานาชาติครั้งที่สอง article
เสื้อผ้าที่ถักทอตัดเย็บมาจากไม้ไผ่ article
พันธุ์ถั่วฝักยาวอวกาศ article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน III article
ของจริง มิใช่ของปลอม article
ฟักแฟง 9 ผล ราคาเหยียบ ห้าหมื่นบาท ! article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน II article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน article
ปลาอะไรเอ่ย มีราคาแพงที่สุดในโลก ? article
ข่าวดี article
ข้าวโพด มันฝรั่ง ที่สร้างภูมิคุ้มโรคได้ article
บอกอำลาควันไฟไปได้เลย article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Welcome to Eco-agrotech.com Photo Albums
Google