ReadyPlanet.com
dot dot
dot
นาซี 778 [Nashi 778]
dot
bulletรู้จักนาซี 778
bulletคุณสมบัติ
bulletประสิทธิภาพ
bulletวิธีใช้นาซี 778
bulletข้อควรระวัง
bulletทฤษฏี กลไก และ บทบาท
bulletขนาดและราคา
dot
นาโน 863 [Nano 863]
dot
bulletรู้จักนาโน 863
bulletประสิทธิภาพ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเพาะปลูก
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการปศุสัตว์
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเห็ด
bulletขนาดและราคา
dot
นาโนบอล [Nano Ball]
dot
bulletรู้จักนาโนบอล
bulletวิธีใช้นาโนบอล
bulletราคา
dot
นาโนสทีค [Nano Stick]
dot
bulletรู้จักนาโนสทีค
bulletราคา
dot
Download Brochures
dot
bulletโปรชัวร์นาซี 778 และนาโน 863
dot
Photo Albums
dot
bulletอัลบั้มรูปผลผลิตต่างๆที่ได้จากนาซี 778
dot
รายงานผลการใช้ผลิตภัณฑ์
dot
bulletสารสมุนไพรนาซี 778
dot
สั่งซื้อผลิตภัณฑ์
dot
bulletหมวดหมู่สินค้า
dot
ตะกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00บาท
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
bulletยืนยันการโอนเงิน
bulletตรวจสอบสถานะสั่งซื้อสินค้า
dot
สมัครรับข่าวสาร

dot


Go to Nanosoeasy.com
Nano 863 Video Clip #1
Nano 863 Video Clip #10
Nano 863 Video Clip #9
Nano 863 Video Clip #8
Nano 863 Video Clip #7
Nano 863 Video Clip #6
Nano 863 Video Clip #5
Nano863 Video Clip #3
Nano 863 Video Clip #2


ปลูกข้าวในทะเลทรายโกบี ? article

ปรากฏการณ์หลายๆอย่างที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่ก่อนหน้านี้เราไม่เชื่อว่ามันจะเกิดขึ้นและเป็นไปได้ แต่ทว่ามันกลับเกิดขึ้นและเป็นไปแล้วอย่างไม่น่าเชื่อ ทั้งนี้ทั้งนั้นล้วนแต่เกิดจากความอุตสาหะมุ่งมั่นศึกษาค้นคว้าหามูลฐานโดยมิได้หยุดนิ่งของนักวิชาการ ทำให้เข้าใจกลไกการทำงานของสิ่งต่างๆ และนำมาประยุกต์ใช้งานก่อเกิดประโยชน์ต่อการดำรงชีพของคนเราอย่างกว้างขวาง ไม่วายเว้นแม้กระทั่งวงการเพาะปลูก

หลังการปฏิวัติเขียวเป็นต้นมา บรรดาเกษตรกร เหล่านักวิชาการต่างให้ความสำคัญต่อผลิตภัณฑ์สารเคมีที่ใช้ในการบำรุงพืชพรรณที่ปลูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเน้นหนักต่อการใช้ ปุ๋ยเคมีเป็นหลักในการเพิ่มผลผลิต ทางการได้ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ผลิตภัณฑ์ทางเคมีเหล่านี้อย่างกว้างขวาง ซึ่งก็ให้ผลผลตอบสนองในระดับที่น่าพอใจ แต่เมื่อเวลาผ่านพ้นไประยะหนึ่ง เราจึงได้ตระหนักถึงผลเสีย - ผลกระทบข้างเคียงของสารเคมีเหล่านี้ที่ตกค้างสะสมในแผ่นดิน ผืนฟ้า ท้องน้ำ และหวนย้อยกลับเข้าสู่ร่างกายเรา รวมทั้งชีวิตพืชและสัตว์ ก่อปัญหาทางด้านสุขภาพติดตามมา เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในวงกว้าง สร้างความเสียหายที่สาหัสน่าปริวิตกเป็นอย่างยิ่ง ยากต่อการแก้ไขเยียวยาให้ดีขึ้นได้ภายในระยะเวลาสั้นๆ

 

 

 เกษตรกร นักวิชาการท่านใดจะเชื่อว่า สารสมุนไพรธรรมชาติจะสามารถเพิ่มผลผลิตได้เป็นเท่าๆตัว จากการให้แก่พืชเพียงแค่ 2 – 3 ครั้งเท่านั้นตลอดช่วงอายุการเพาะปลูก ทำให้เติบโตได้เร็วกว่าปกติ เก็บเกี่ยวได้เร็วขึ้น 10 – 40 วัน เกิดความต้านทานต่อโรคและแมลงได้เป็นอย่างดี ทนทานต่อสภาวะวิกฤตในพื้นที่แวดล้อมที่มันดำรงอยู่ อย่างเช่นอากาศหนาวเย็น ความแห้งแล้ง น้ำท่วม ดินเค็มเป็นต้น ก็ทำให้พืชที่ที่ปลูกได้รับสารสมุนไพร GPIT เหล่านี้สามารเจริญเติบโตเลี้ยงตัวอยู่รอดจนกระทั่งให้ผลผลิตเก็บเกี่ยวได้อย่างน่าพอใจ อีกทั้งยังให้คุณภาพที่ดีเยี่ยมอีกด้วย

แม้จะค้นพบแนวทางใหม่อันเป็นวิถีทางธรรมชาติที่ให้ผลดีกว่าการใช้สารเคมีแล้วก็ตาม เกษตรกรส่วนใหญ่ก็ยังไม่ปักใจเชื่อว่า สารสมุนไพรดังกล่าวมีประสิทธิภาพดังที่กล่าวอ้างไว้ ต่างเข้าใจว่าเป็นการโฆษณาคุยโม้โอ้อวดหลอกขายสินค้ากันเสียละมากกว่า จึงไม่ได้ให้ความสนใจ ไม่ใส่ใจที่จะนำมาใช้กับพืชที่ปลูก ต่างบอกกล่าวว่า “เป็นไปไม่ได้ที่สารสมุนไพรจะก่อเกิดผลดีเยี่ยมมากมายก่ายกองจากผลิตภัณฑ์เพียงตัวเดียว” ดังเช่นเรื่องที่จะหยิบยกมาเล่าสู่กันฟังต่อไปนี้ว่า...

เราจะปลูกข้าวทำนาในทะเลทรายโกบี  เป็นไปได้จริงหรือ ?

ในอนาคตข้างหน้าอีกไม่นานนัก เราคงจะได้เห็นการปลูกข้าว ทำนากันในทะเลทรายโกบี  ใครนะที่อาจหาญกล้าป่าวประกาศดังนี้ ?

 

แปลงทดลองที่สอดใส่ยีนทนแล้งเข้าไปในต้นข้าว เปรียบเทียบกับต้นข้าวปกติที่ปลูกสลับกันเป็นแปลงเล็กๆนั้น แสดงให้เห็นถึงความโดเด่นของยีนทนแล้ง OsSKIPa ได้อย่างชัดเจน (ล๊อคสีฟางแห้งที่เห็นนั้นคือต้นกล้าข้าวปกติที่แห้งตายไป)

แปลงทดลองที่สอดใส่ยีนทนแล้งเข้าไปในต้นข้าว เปรียบเทียบ
กับต้นข้าวปกติที่ปลูกสลับกันเป็นแปลงเล็กๆนั้น แสดงให้เห็นถึง
ความโดเด่นของยีนทนแล้ง OsSKIPa ได้อย่างชัดเจน
(ล๊อคสีฟางแห้งที่เห็นนั้นคือต้นกล้าข้าวปกติที่แห้งตายไป)

 

นักวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรกรรม ฮว๋าจงหนงแอย๊ะต้าเสวี๋ย (华中农业大学) ประสบความสำเร็จในการแยกแยะยีนคู่หนึ่งในต้นข้าวที่มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้เป็นอย่างดี ยีนคู่นี้มีชื่อว่า OsSKIPa ผู้ทำการวิจัยได้แถลงว่า หากทำการปรับปรุงเพิ่มความเข้มข้นการแสดงออกของระดับยีนดังกล่าวแล้วจักสามารถเพิ่มขีดความสามารถทนทานต่อความแห้งแล้งได้เป็นอย่างดี พื้นที่ขาดแคลนน้ำอย่างในทะเลทรายโกบีก็อาจทำการปลูกข้าวทำนาได้ในอนาคตข้างหน้า

ผลงานชิ้นนี้ได้รับการตีพิมพ์ในสารสารวิทยาศาสตร์ กวั๋วเจียเคอเสวี๋ยเยี่ยนเยี่ยนคาน《国家科学院院刊》(PNAS / International authoritative academic journal) อันเป็นวารสารวิชาการระดับประเทศ เมื่อไม่นานมานี้ ซึ่งนำเสนอโดย ศาสตราจารย์ โสรง ลิจง (熊立仲) ท่านเป็นหนึ่งในสมาชิกทีมงานวิจัยข้าวเฉพาะกิจ โดยจะเน้นหนักงานวิจัย – แยกแยะยีนที่มีศักยภาพต้านทานความเครียดของต้นพืชเพื่อนำมาประยุกต์ใช้งานให้เกิดประโยชน์ในการเพาะปลูก

ท่านศาสตราจารย์ โสรง ลิจง ชี้แจงว่า ยีน OsSKIPa ที่ผ่านการกรองคัดแยกด้วยเทคนิคยีนชิปแล้ว (Gene chip technology) ร่วมกับเทคนิคถ่ายโอนยีนจำนวนหลายๆครั้งจนได้ยีนดังกล่าว ผลจากการทดสอบปรากฏว่าในสภาวะที่แห้งแล้ง ต้นกล้าข้าวกลุ่มเปรียบเทียบที่มีอัตราการรอดร้อยละ 20 ถึง 50 นั้น หลังจากได้สอดใส่ยีนทดสอบ OsSKIPa เข้าไปแล้ว อัตราการอยู่รอดนั้นสูงเพิ่มขึ้นกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป และเมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยว ข้าวที่มียีนทนแล้งอยู่นั้น ผลผลิตเพิ่มขึ้นร่วม 20 %

งานวิจัยชิ้นนี้แสดงให้เห็นว่า ยีน OsSKIPa นั้นสามารถควบคุมการแสดงออกของลักษณะความทนทานต่อความแห้งแล้งของต้นข้าวได้เป็นอย่างดี ยังผลให้เซลล์ของต้นข้าวนั้นมีพลังชีวิตที่แกร่งขึ้น ต่อสู้ดิ้นรนเพื่อการอยู่รอดในสภาวะที่ขาดน้ำได้เป็นอย่างดี ลดความสูญเสียจากผลกระทบที่เกิดจากความแห้งแล้งได้ ผลที่เกิดขึ้นจากการตอบสนองที่เป็นกระบวนการต่อเนื่องนี้ไม่ใคร่ได้พบเห็นจากการวิจัยในข้าวมาก่อน ผลจากการศึกษาเพิ่มเติม พบว่า โปรตีนในเอ็นไซม์ SKIP สามชนิดในต้นข้าว และคนนั้น (ใกล้เคียงกับยีน OsSKIPa) มีคอมไบด์โปรตีนที่แตกต่างกันออกไป ลักษณะพิเศษเฉพาะตัวดังกล่าวนำไปสู่วิวัฒนาการทางพันธุกรรมให้เป็นยีนที่มีความทนทานต่อความแห้งแล้งอย่างฉับพลัน ถือเป็นสิ่งที่มีความหมายเป็นอย่างยิ่ง

ศาสตราจารย์ โสรง ลิจง กล่าว่า ความทนทานต่อความแห้งแล้งนั้นเกิดจากผลการทำงานแสดงออกร่วมกันของยีนทนแล้งจำนวนมาก ผลงานวิจัยชิ้นนี้ใช้กลวิธีย้อนกลับในการถ่ายทอดพันธุกรรมมาดำเนินการแยกแยะและศึกษาถึงยีนที่คงทนต่อความเครียดของต้นข้าว ผนวกกับความเข้าใจในกระบวนการความต้านทานของโมเลกุล ในขณะเดียวกัน การค้นพบยีนดังกล่าวทำให้การปรับปรุงพันธุ์ข้าวที่มีความทนทานต่อความแห้งแล้งเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทรงคุณค่าอย่างหาที่เปรียบไม่ได้

 




เกษตรไฮเทค

นักวิชาการรู้ แต่ยังไม่กล้าบอก
ปลูกข้าวในทะเลทราย โดยใช้เม็ดทรายเก็บกักน้ำไว้ทำนา
กดเอาไว้ อย่าให้โผล่ขึ้นมาได้ แล้วมันก็จะดีเอง!
กว่าจะเป็นตัวตนของตนเอง ต้องใช้เวลาเดินทางนานร่วม 60 ปี !
เบื้องหลังความสำเร็จรางวัลไวน์เหรียญทองนานาชาติของจีน
เคล็ดลับประหลาดที่ใช้ปลูกข้าวได้ผลดีเหลือเชื่อ
GMO
คาร์บอนไดออกไซด์ทำให้คุณภาพซากสุกรดีขึ้น
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) อีกแล้ว
จ่าวหลานต้านไป๋ (藻蓝蛋白 / Algal blue protein) article
เอ๊ะ ทำได้อย่างไร ?
并蒂荔枝 (ปิ้งตี้ลี่จือ) คืออะไร ?
คุณเชื่อหรือไม่ ปลูกต้นไม้ในทะเลทราย 10 วินาที ต่อ 1 ต้น อัตราการรอดสูงถึง 90 เปอร์เซ็นต์?
มหันต์ภัยเงียบก่อหายนะกำลังเผยตัวปรากฏให้เห็นแล้วอย่างชัดเจนในผืนแผ่นดินเพาะปลูก
ยาสูบมีโทษต่อร่างกาย ผู้เสพอาจถึงตายได้ แต่ ... นักวิทยาศาสตร์กลับนำมันมารักษาชีวิตคน ! article
ถึงเวลายาเคมีเกษตรต้องยาตราถอยทัพ
ยาเคมีหรือ ถอยให้ห่างไกลไปเลย
สารตัวนี้แหละที่ช่วยเร่งอัตราการสังเคราะห์แสงในพืช article
จุลินทรีย์ แบซิลลัส ซับทิลิส article
116 肥 ไม่เชื่อไม่ได้แล้ว ! ไม่ใช้ก็คงไม่ได้แล้ว (เหมือนกัน) article
คุณเข้าใจ และ ตระหนักถึงความสำคัญของ article
อุปกรณ์ที่จะช่วยชาวไร่ข้าวโพดขายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น article
ผลลัพธ์ที่ปรากฏให้เห็นโดยไม่ได้ตั้งใจ article
โปรตีนอะไรที่สร้างความต้านทานโรคพืชได้ article
จ้าว หย่งเลี่ยง คนเยี่ยงนี้ยังมีอยู่หรือ ?
ไก่เบตงมาจากไหน ? ไม่ใกล้ไม่ไกล ที่นี่นี้เอง ?
ฟูเซียวเฝิ่นน่า (复硝酚钠)
จากเมล็ดพันธุ์ 3 เมล็ดสุดท้าย สู่อาณาจักร มาคา - ไวอะกร้า ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ article
ผลผลิตรากบัว จาก 4,800 กก. ต่อไร่ เพิ่มเป็น 14,400 กก. ต่อไร่ ทำได้อย่างไร ?
เอาผงชูรสมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย เพิ่มผลผลิตได้เท่าตัว
นี่มันลูกแตงโมนะ ไม่ใช่ลูกโบว์ลิ่ง article
อะไรเอ่ย ทั้งแข็งทั้งอร่อย article
ต้นไม้ที่ผลิตเกลือแกง article
หมูที่เลี้ยง-ขุนด้วยหนอนแมลงวัน คุณกล้ากินไหม ? article
แต้มจุดสีแดงบนใบข้าวเพื่อ .... article
อะไรนะ มีด้วยหรือ ปุ๋ยอากาศน่ะ ! article
หนานอวี้ เบอร์ 1 article
หนุ่มสติเฟื่องเพาะพันธุ์ เหรยินเซินกว่อ article
สวนเกษตรสาธิตไฮเทคระดับประเทศแห่งเมืองเทียนสุ่ย article
ต่าหังเทียนผาย เจ่าสวินฮว๋านลู่ ช่วงเจียกงเอยี๊ยะ ต้ายหนงหมินฝู๋ article
ศักราชใหม่ของเกษตรกรจีน article
ถ้าคุณต้องการเลี้ยงกุ้ง ปูปลา และสัตว์น้ำอื่นๆให้ได้ผลดี article
มะละกออวกาศ article
สัตว์ที่คนไทยเราขยะแขยง ประหวั่นพรั่นพรึง article
เอายอดมะระมาเสียบตอบวบดีอย่างไร ? article
หมาวฮวามี่เหาถาว 毛花猕猴桃 สายพันธุ์ใหม่ วอลเท่อร์ (华特 / Walther) article
สวี ไหว่จง (徐 伟忠) article
กุหลาบ 7 สี หรือ กุหลาบสายรุ้ง 彩虹玫瑰 article
วิธีไหนดีกว่ากัน? article
ไก่เหวินชาง (อีกแล้ว) article
เตาแก๊สเกษตร article
มู่กวา (木瓜) article
เริ่มแล้ว อลังการยิ่งใหญ่ตระการตาน่าชมชื่น article
นี่ก็ใช่เหมือนกัน article
ปลูกมันฝรั่งในอากาศ article
จินกวา หรือ หนานกวา ? article
ไก่เนื้อที่ขึ้นชื่อลือชาว่ารสชาติอร่อยที่สุดในเกาะไหหลำ article
ไปเทียว ห่ายหนานต่าว (เกาะไหหลำ) article
อยี่ หวงหวาง จิน article
ข้าวไผ่ article
นาโนเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ article
เต้าเกอ article
พริก พริก พริก ที่นี่มีแต่พริกทั้งนั้น article
นาซี 778 ขจรขจายทั่วผืนแผ่นดินจีน article
แตงโมอวกาศมาที่รอคอย ถึงเวลาปลูกให้ลิ้มชิมรสแล้ว article
ผลิตภัณฑ์ใหม่ทางการเกษตรที่ทรงประสิทธิภาพในประเทศจีน article
ไข่มุกดำที่มีรสชาติแสนโอชา article
อาหารดัดแปรพันธุกรรมปลอดภัยหรือไม่ ? article
เบิ่งมองการเกษตรประเทศจีน article
สบู่ดำที่เกาะห่ายหนาน article
เอทานอลจากต้นข้าวโพด article
หญ้าที่โตเร็วที่สุดในโลก article
ข้าวหอมสายพันธุ์ใหม่ที่กว่างซี article
ตลาดผัก-ผลไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน article
เตาแก๊สแรงดันสูง (เตาฟู่) ที่ประหยัดแก๊สถึง 2 ขั้นตอน article
การผลิตพันธุ์ข้าวลูกผสมทำได้อย่างไร ? article
อาร์ติโชค (artichoke) article
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ไข่ไก่ article
เตาแก๊สชีวมวลประสิทธิภาพสูง article
เตาผลิตแก๊สจากไม้ฟืนและเศษเหลือทิ้งจากพืชไร่ article
ขโมยวัวข้าหรือ ? บอกได้เลยว่า ยากซ์........ซ article
แบตเตอรี่เก่า อย่าเพิ่งเปลี่ยน หรือ โยนทิ้งไป article
ซื้อแต่เตา แล้วมีแก๊สใช้ตลอดไป ! article
เครื่องดำนาขนาดเล็ก article
ต้นมะเขือออกผลเป็นไข่ไก่ ? article
เดินทางเยี่ยมเยือน เฉิงตู นครแห่งไม้ดอก article
เว็บไซท์ทางการของจีน article
นิทัศน์การแสดงสินค้า-อุปกรณ์และเทคโนโลยีการเก็บรักษาความสดผลผลิตทางการเกษตรนานาชาติครั้งที่สอง article
เสื้อผ้าที่ถักทอตัดเย็บมาจากไม้ไผ่ article
พันธุ์ถั่วฝักยาวอวกาศ article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน III article
ของจริง มิใช่ของปลอม article
ฟักแฟง 9 ผล ราคาเหยียบ ห้าหมื่นบาท ! article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน II article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน article
ปลาอะไรเอ่ย มีราคาแพงที่สุดในโลก ? article
ข่าวดี article
ข้าวโพด มันฝรั่ง ที่สร้างภูมิคุ้มโรคได้ article
บอกอำลาควันไฟไปได้เลย article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Welcome to Eco-agrotech.com Photo Albums
Google