ReadyPlanet.com
dot dot
dot
นาซี 778 [Nashi 778]
dot
bulletรู้จักนาซี 778
bulletคุณสมบัติ
bulletประสิทธิภาพ
bulletวิธีใช้นาซี 778
bulletข้อควรระวัง
bulletทฤษฏี กลไก และ บทบาท
bulletขนาดและราคา
dot
นาโน 863 [Nano 863]
dot
bulletรู้จักนาโน 863
bulletประสิทธิภาพ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเพาะปลูก
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการปศุสัตว์
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเห็ด
bulletขนาดและราคา
dot
นาโนบอล [Nano Ball]
dot
bulletรู้จักนาโนบอล
bulletวิธีใช้นาโนบอล
bulletราคา
dot
นาโนสทีค [Nano Stick]
dot
bulletรู้จักนาโนสทีค
bulletราคา
dot
Download Brochures
dot
bulletโปรชัวร์นาซี 778 และนาโน 863
dot
Photo Albums
dot
bulletอัลบั้มรูปผลผลิตต่างๆที่ได้จากนาซี 778
dot
รายงานผลการใช้ผลิตภัณฑ์
dot
bulletสารสมุนไพรนาซี 778
dot
สั่งซื้อผลิตภัณฑ์
dot
bulletหมวดหมู่สินค้า
dot
ตะกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00บาท
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
bulletยืนยันการโอนเงิน
bulletตรวจสอบสถานะสั่งซื้อสินค้า
dot
สมัครรับข่าวสาร

dot


Go to Nanosoeasy.com
Nano 863 Video Clip #1
Nano 863 Video Clip #10
Nano 863 Video Clip #9
Nano 863 Video Clip #8
Nano 863 Video Clip #7
Nano 863 Video Clip #6
Nano 863 Video Clip #5
Nano863 Video Clip #3
Nano 863 Video Clip #2


นักวิชาการรู้ แต่ยังไม่กล้าบอก

 

ถ้า กล่าวถึงการเพาะปลูก ไม่ว่าจะเป็นพืชชนิดไหน ประเภทใด อาหารที่จำเป็นสำหรับการสร้างความเจริญเติบโตและให้ผลผลิตที่บรรดาเกษตรกรรู้จักก็คือ ปุ๋ย และธาตุอาหารหลักที่มักคุ้นก็คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ซึ่งส่วนมากก็อยู่ในรูปของปุ๋ยผสมสำเร็จรูปที่เสริมด้วยธาตุอาหารปลีกย่อยอีกหลายชนิด แต่ยังมีอีกธาตุหนึ่งที่นักวิชาการไม่เคยเอ่ยให้เกษตรกรได้รู้เลยก็คือ คาร์บอน (C) ซึ่งอยู่ในรูปของสารประกอบคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่ลอยฟ่องอยู่ในอากาศ ซึ่งธาตุตัวนี้เป็นองค์ประกอบหลักของอินทรีย์สารทุกชนิด (สารไฮโดรคาร์บอน) กล่าวได้ว่าเป็นธาตุที่ทรงความสำคัญที่สุด และเป็นธาตุที่พืชต้องการในปริมาณที่มากที่สุดด้วย แต่จะเนื่องด้วยสารประกอบ CO2 นี้เป็นอากาศธาตุที่มองไม่เห็น จับต้องไม่ได้ หรืออาจจะเห็นว่ามันมีอยู่แล้วทั่วไปในบรรยากาศ จึงไม่สนใจที่ทำการวิจัยหาหนทางนำมาประยุกต์ใช้กับพืชที่ปลูก แต่แท้จริงแล้วมันมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของต้นพืชอย่างยิ่งยวด เพราะมันเป็นองค์ประกอบทั่วทุกส่วนสัดองคาพยพของต้นพืช ไม่ว่าจะเป็นระบบราก ลำต้น กิ่งก้าน ใบ ดอกและผล แต่นักวิชาการจีนตระหนักถึงความสำคัญของธาตุอาหารตัวนี้ จึงหาหนทางนำมาป้อนเพิ่มให้กับพืชที่ปลูก ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของแก็ส ซึ่งค่อนข้างที่จะยุ่งยากในทางปฏิบัติ แต่ไม่นานมานี้ มีสถาบันการเกษตรเอกชนแห่งหนึ่ง ก่อตั้งในรูปของคอมมูน (ที่ไทยเราก็ได้นำมาใช้ แต่เปลี่ยนชื่อเรียกเสียใหม่ว่า “สหกรณ์” เพราะหลังสงครามครั้งที่ 2 นั้นโลกตะวันตกนั้นปั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ให้เป็นปีศาจที่น่ากลัว คำศัพท์ใดที่เกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ก็จะไม่หยิบยกมาใช้โดยตรง แต่ทำการเปลี่ยนแปลงชื่อเสียใหม่) ได้นำสารปลดปล่อย CO2 ในรูปแบบของ Granule (ก้อนเม็ดเล็กๆ) เอาไปสุมวางไว้ที่โคนต้นพืช ปล่อยให้ค่อยๆระเหิดเป็นแก๊สแพร่กระจายในโรงเรือน ทำให้พืชดูดซับเอาไปใช้งานได้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อยืนยันว่า CO2 ส่งผลให้ต้นพืชเติบโตได้ดี ให้ผลผลิตสูง จึงขอแนะคลิปวีดิโอจากเว็บไซท์ที่เกี่ยวข้องมาให้ชมกัน

รูปที่ 1. เม็ดแกรนนูลที่ปลดปล่อย CO2
รูปที่ 2. วิธีวางตั้งสารปลดปล่อย CO2

จากการเปิดเผยของเกษตรกรที่นำเอาผลิตภัณฑ์ CO2 ไปใช้ ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ให้สังเกตจากคลิปวีดิโอ จะเห็นได้ว่าต้นแตงมีลำต้นอวบ ใบหนา ขนาดของใหญ่ สีเขียวเข้ม ลูกดก แต่ถ้าเกษตรกรไทยที่ปลูกพืชในพื้นที่เปิดคงไม่สะดวกนำมาใช้ เพราะแก็ส CO2 ที่เกิดขึ้นจะถูกกระแสลมพัดพากระจายหายไปหมด ทำให้เกิดการสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ แต่ถ้าปลูกในโรงเรือนก็สามารถนำมาใช้งานได้ ส่วนในประเทศจีนนั้นทำการเพาะปลูกในโรงเรือนเกือบทั้งหมด จึงไม่เกิดปัญหาในเรื่องนี้ ถ้าบอกชื่อสารตัวนี้ก็จะต้องร้อง อ๋อ ทันที มันคือ น้ำแข็งแห้ง ครับ
(Dry Ice) 

 

 ขบวนการ Photosynthesis (แสงสังเคราะห์)

 

แต่อย่าได้วิตกหรือเสียใจไปเลยครับ ถึงแม้เราจะไม่ได้ใช้น้ำแข็งแห้งมาใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต แต่เราก็สามารถนำสารตัวอื่นที่ช่วยเพิ่มผลผลิตได้ดีกว่าน้ำแข็งแห้งที่ว่านี้เสีย อีก ทว่า ..ก่อนอื่นให้เรามาทำความเข้าใจกลไกการเพิ่มผลผลิตของต้นพืชเสียก่อนว่าเป็นเช่นไร

 

 

 

อย่างที่บอกกล่าวไว้ว่า ธาตุที่ต้นพืชต้องการมากที่สุด คาร์บอน (C) ที่ได้มาจาก คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในอากาศ จากกระบวนการแสงสังเคราะห์ (Photosynthesis) ที่ต้องอาศัยพลังงานจากแสงแดดมาดำเนินการทางชีวเคมีในการสร้างอาหารมาบำรุงเลี้ยงดูทุกส่วน ของต้นพืช จากการดูดน้ำและแร่ธาตุอาหารในดินโดยการทำงานของระบบ ราก ส่งขึ้นไปที่ ใบ ตามท่อลำเลียงอาหาร ส่วนที่เป็น สีเขียว ที่ใบ ซึ่งเปรียบเสมือนโรงงาน ทำการปรุงอาหารส่งไปหล่อเลี้ยงทั่วทั้งลำต้น ซึ่งทั้งหมดนี้ทำงานอย่างมีปฏิสัมพันธ์กันทุกภาคส่วน เมื่อรากจัดหาอาหารได้เหลือเฟือ แต่ได้รับพลังงาน (แสงแดด) ไม่เพียงพอก็ทำงานได้ไม่เต็มที่ หรือต้นพืชได้รับแสงแดดเต็มที่ แต่ดูดซับเอา CO2 ได้น้อย ก็ผลิตอาหารไม่ได้เพิ่มมากขึ้น เพราะกระบวนการแสงสังเคราะห์นั้นดำเนินเป็นปฏิภาคต่อกันในอัตราส่วนที่คงที่ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าสิ่งที่จะทำให้พืชเติบโตได้ดี ให้ผลผลิตสูงนั้นขึ้นอยู่กับ ราก ใบ และรงค์วัตถุ สีเขียว ที่ใบพืชว่ามีจำนวนและปริมาณมากน้อยเท่าไร

ราก : ถ้ามีปริมาณมาก และมีความยาวกินลึกมาก ก็สามารถดูดซับน้ำ และแร่ธาตุได้ มาก

ใบ : ถ้ามีจำนวนใบมาก ใบหนาแน่น หรือมีขนาดของใบใหญ่ขึ้น เมื่อคิดเป็นปริมาณพื้นที่ที่ผิวใบแล้ว ก็จะมีปริมาณพื้นผิวรับแสงอาทิตย์ได้เพิ่มขึ้น (รับพลังงานได้มากขึ้น)

รงค์วัตถุสีเขียว : ถ้าใบมีสีเขียวเข้ม ก็เปรียบเสมือนมีโรงงานผลิตอาหารมาก ใบก็ทำการปรุงอาหารจากวัตถุดิบที่รากดูดซับส่งขึ้นมาจากพื้นดินได้เพิ่มมากขึ้น   ดังนั้นถ้าเราสามารถทำให้ ระบบรากพัฒนาเพิ่มมากขึ้นทั้งปริมาณและความยาวแล้ว ปริมาณใบมีจำนวนมากและมีขนาดใหญ่ขึ้นแล้ว ใบมีสีเขียวเข้มยิ่งขึ้นแล้ว เมื่อได้รับแสงแดดเพิ่มขึ้น หรือดูดซับเอาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นแล้ว ผลที่ติดตามมาก็คือ ปริมาณแป้งและน้ำตาลที่พืชสร้างขึ้นก็เพิ่มเป็นเงาตามตัว นั่นย่อมหมายถึงต้นพืชเติบโตเร็วขึ้น ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน คงไม่มีมีสารตัวไหนที่สามารถรังสรรค์ให้เกิดผลดังกล่าวได้ถ้าไม่ใช่ นาซี 778 นั่นหมายความว่าท่านไม่จำเป็นต้องใช้น้ำแข็งแห้งเลย แค่ใช้ นาซี 778 เท่านั้นก็ทำให้ท่านเพาะปลูกพืชได้ผลอย่างน่าพอใจสุดๆ


 น้ำแข็งแห้ง

 

หมายเหตุ : แตงที่เก็บเกี่ยวในคลิปที่เห็นนั้นเป็นผลแตงร้านครับ เป็นแตงร้านสายพันธุ์หนึ่งที่มีหนามขึ้นรอบตัวผล ดังนั้นแตงพันธุ์นี้จึงต้องเก็บมาบริโภคเมื่อผลยังอ่อน ถ้าปล่อยให้แก่เต็มที่แล้ว หนามที่ผลจะแข็งตำมือ สังเกตเห็นได้ว่า ชาวสวนเก็บผลในขณะที่กลีบดอกยังติดอยู่กับผลแตง แตงสายพันธุ์นี้คงนำมาปลูกไม่ได้ในบ้านเรา เพราะผู้บริโภคบ้านเราไม่ชอบอะไรที่เป็นขน ปุ่มปม ชอบประเภทที่มีผิวเรียบเนียนสะอาดสะอ้านมากกว่า

 

 




เกษตรไฮเทค

ปลูกข้าวในทะเลทราย โดยใช้เม็ดทรายเก็บกักน้ำไว้ทำนา
กดเอาไว้ อย่าให้โผล่ขึ้นมาได้ แล้วมันก็จะดีเอง!
กว่าจะเป็นตัวตนของตนเอง ต้องใช้เวลาเดินทางนานร่วม 60 ปี !
เบื้องหลังความสำเร็จรางวัลไวน์เหรียญทองนานาชาติของจีน
เคล็ดลับประหลาดที่ใช้ปลูกข้าวได้ผลดีเหลือเชื่อ
GMO
คาร์บอนไดออกไซด์ทำให้คุณภาพซากสุกรดีขึ้น
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) อีกแล้ว
จ่าวหลานต้านไป๋ (藻蓝蛋白 / Algal blue protein) article
เอ๊ะ ทำได้อย่างไร ?
并蒂荔枝 (ปิ้งตี้ลี่จือ) คืออะไร ?
คุณเชื่อหรือไม่ ปลูกต้นไม้ในทะเลทราย 10 วินาที ต่อ 1 ต้น อัตราการรอดสูงถึง 90 เปอร์เซ็นต์?
มหันต์ภัยเงียบก่อหายนะกำลังเผยตัวปรากฏให้เห็นแล้วอย่างชัดเจนในผืนแผ่นดินเพาะปลูก
ยาสูบมีโทษต่อร่างกาย ผู้เสพอาจถึงตายได้ แต่ ... นักวิทยาศาสตร์กลับนำมันมารักษาชีวิตคน ! article
ถึงเวลายาเคมีเกษตรต้องยาตราถอยทัพ
ยาเคมีหรือ ถอยให้ห่างไกลไปเลย
สารตัวนี้แหละที่ช่วยเร่งอัตราการสังเคราะห์แสงในพืช article
จุลินทรีย์ แบซิลลัส ซับทิลิส article
116 肥 ไม่เชื่อไม่ได้แล้ว ! ไม่ใช้ก็คงไม่ได้แล้ว (เหมือนกัน) article
คุณเข้าใจ และ ตระหนักถึงความสำคัญของ article
อุปกรณ์ที่จะช่วยชาวไร่ข้าวโพดขายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น article
ผลลัพธ์ที่ปรากฏให้เห็นโดยไม่ได้ตั้งใจ article
โปรตีนอะไรที่สร้างความต้านทานโรคพืชได้ article
จ้าว หย่งเลี่ยง คนเยี่ยงนี้ยังมีอยู่หรือ ?
ไก่เบตงมาจากไหน ? ไม่ใกล้ไม่ไกล ที่นี่นี้เอง ?
ฟูเซียวเฝิ่นน่า (复硝酚钠)
จากเมล็ดพันธุ์ 3 เมล็ดสุดท้าย สู่อาณาจักร มาคา - ไวอะกร้า ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ article
ผลผลิตรากบัว จาก 4,800 กก. ต่อไร่ เพิ่มเป็น 14,400 กก. ต่อไร่ ทำได้อย่างไร ?
เอาผงชูรสมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย เพิ่มผลผลิตได้เท่าตัว
นี่มันลูกแตงโมนะ ไม่ใช่ลูกโบว์ลิ่ง article
อะไรเอ่ย ทั้งแข็งทั้งอร่อย article
ต้นไม้ที่ผลิตเกลือแกง article
หมูที่เลี้ยง-ขุนด้วยหนอนแมลงวัน คุณกล้ากินไหม ? article
แต้มจุดสีแดงบนใบข้าวเพื่อ .... article
อะไรนะ มีด้วยหรือ ปุ๋ยอากาศน่ะ ! article
หนานอวี้ เบอร์ 1 article
หนุ่มสติเฟื่องเพาะพันธุ์ เหรยินเซินกว่อ article
สวนเกษตรสาธิตไฮเทคระดับประเทศแห่งเมืองเทียนสุ่ย article
ต่าหังเทียนผาย เจ่าสวินฮว๋านลู่ ช่วงเจียกงเอยี๊ยะ ต้ายหนงหมินฝู๋ article
ศักราชใหม่ของเกษตรกรจีน article
ถ้าคุณต้องการเลี้ยงกุ้ง ปูปลา และสัตว์น้ำอื่นๆให้ได้ผลดี article
มะละกออวกาศ article
สัตว์ที่คนไทยเราขยะแขยง ประหวั่นพรั่นพรึง article
เอายอดมะระมาเสียบตอบวบดีอย่างไร ? article
หมาวฮวามี่เหาถาว 毛花猕猴桃 สายพันธุ์ใหม่ วอลเท่อร์ (华特 / Walther) article
สวี ไหว่จง (徐 伟忠) article
กุหลาบ 7 สี หรือ กุหลาบสายรุ้ง 彩虹玫瑰 article
วิธีไหนดีกว่ากัน? article
ไก่เหวินชาง (อีกแล้ว) article
เตาแก๊สเกษตร article
มู่กวา (木瓜) article
เริ่มแล้ว อลังการยิ่งใหญ่ตระการตาน่าชมชื่น article
นี่ก็ใช่เหมือนกัน article
ปลูกข้าวในทะเลทรายโกบี ? article
ปลูกมันฝรั่งในอากาศ article
จินกวา หรือ หนานกวา ? article
ไก่เนื้อที่ขึ้นชื่อลือชาว่ารสชาติอร่อยที่สุดในเกาะไหหลำ article
ไปเทียว ห่ายหนานต่าว (เกาะไหหลำ) article
อยี่ หวงหวาง จิน article
ข้าวไผ่ article
นาโนเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ article
เต้าเกอ article
พริก พริก พริก ที่นี่มีแต่พริกทั้งนั้น article
นาซี 778 ขจรขจายทั่วผืนแผ่นดินจีน article
แตงโมอวกาศมาที่รอคอย ถึงเวลาปลูกให้ลิ้มชิมรสแล้ว article
ผลิตภัณฑ์ใหม่ทางการเกษตรที่ทรงประสิทธิภาพในประเทศจีน article
ไข่มุกดำที่มีรสชาติแสนโอชา article
อาหารดัดแปรพันธุกรรมปลอดภัยหรือไม่ ? article
เบิ่งมองการเกษตรประเทศจีน article
สบู่ดำที่เกาะห่ายหนาน article
เอทานอลจากต้นข้าวโพด article
หญ้าที่โตเร็วที่สุดในโลก article
ข้าวหอมสายพันธุ์ใหม่ที่กว่างซี article
ตลาดผัก-ผลไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน article
เตาแก๊สแรงดันสูง (เตาฟู่) ที่ประหยัดแก๊สถึง 2 ขั้นตอน article
การผลิตพันธุ์ข้าวลูกผสมทำได้อย่างไร ? article
อาร์ติโชค (artichoke) article
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ไข่ไก่ article
เตาแก๊สชีวมวลประสิทธิภาพสูง article
เตาผลิตแก๊สจากไม้ฟืนและเศษเหลือทิ้งจากพืชไร่ article
ขโมยวัวข้าหรือ ? บอกได้เลยว่า ยากซ์........ซ article
แบตเตอรี่เก่า อย่าเพิ่งเปลี่ยน หรือ โยนทิ้งไป article
ซื้อแต่เตา แล้วมีแก๊สใช้ตลอดไป ! article
เครื่องดำนาขนาดเล็ก article
ต้นมะเขือออกผลเป็นไข่ไก่ ? article
เดินทางเยี่ยมเยือน เฉิงตู นครแห่งไม้ดอก article
เว็บไซท์ทางการของจีน article
นิทัศน์การแสดงสินค้า-อุปกรณ์และเทคโนโลยีการเก็บรักษาความสดผลผลิตทางการเกษตรนานาชาติครั้งที่สอง article
เสื้อผ้าที่ถักทอตัดเย็บมาจากไม้ไผ่ article
พันธุ์ถั่วฝักยาวอวกาศ article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน III article
ของจริง มิใช่ของปลอม article
ฟักแฟง 9 ผล ราคาเหยียบ ห้าหมื่นบาท ! article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน II article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน article
ปลาอะไรเอ่ย มีราคาแพงที่สุดในโลก ? article
ข่าวดี article
ข้าวโพด มันฝรั่ง ที่สร้างภูมิคุ้มโรคได้ article
บอกอำลาควันไฟไปได้เลย article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Welcome to Eco-agrotech.com Photo Albums
Google