ReadyPlanet.com
dot dot
dot
นาซี 778 [Nashi 778]
dot
bulletรู้จักนาซี 778
bulletคุณสมบัติ
bulletประสิทธิภาพ
bulletวิธีใช้นาซี 778
bulletข้อควรระวัง
bulletทฤษฏี กลไก และ บทบาท
bulletขนาดและราคา
dot
นาโน 863 [Nano 863]
dot
bulletรู้จักนาโน 863
bulletประสิทธิภาพ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเพาะปลูก
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการปศุสัตว์
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเห็ด
bulletขนาดและราคา
dot
นาโนบอล [Nano Ball]
dot
bulletรู้จักนาโนบอล
bulletวิธีใช้นาโนบอล
bulletราคา
dot
นาโนสทีค [Nano Stick]
dot
bulletรู้จักนาโนสทีค
bulletราคา
dot
Download Brochures
dot
bulletโปรชัวร์นาซี 778 และนาโน 863
dot
Photo Albums
dot
bulletอัลบั้มรูปผลผลิตต่างๆที่ได้จากนาซี 778
dot
รายงานผลการใช้ผลิตภัณฑ์
dot
bulletสารสมุนไพรนาซี 778
dot
สั่งซื้อผลิตภัณฑ์
dot
bulletหมวดหมู่สินค้า
dot
ตะกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00บาท
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
bulletยืนยันการโอนเงิน
bulletตรวจสอบสถานะสั่งซื้อสินค้า
dot
สมัครรับข่าวสาร

dot


Go to Nanosoeasy.com
Nano 863 Video Clip #1
Nano 863 Video Clip #10
Nano 863 Video Clip #9
Nano 863 Video Clip #8
Nano 863 Video Clip #7
Nano 863 Video Clip #6
Nano 863 Video Clip #5
Nano863 Video Clip #3
Nano 863 Video Clip #2


คุณเข้าใจ และ ตระหนักถึงความสำคัญของ article

  

หาก จะกล่าวไปแล้ว นักวิชาการและเกษตรกรที่ทำการเพาะปลูกกำลังเดินหลงทางโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดยเฉพาะนักวิชาการ ทั้งๆที่ได้เรียนรู้และเข้าใจถึง กระบวนการทางชีวเคมีอันเป็นแก่นพื้นฐานที่จะทำให้พืชเจริญเติบโตได้ดีนั้นก็คือ กระบวนการ แสงสังเคราะห์ (หรือสังเคราะห์ด้วยแสง) ที่ต้นพืชต้องอาศัยพลังงาน แสงอาทิตย์ มาสร้างอาหารเพื่อนำไปเลี้ยงส่วนต่างๆของลำต้น โดยอาศัยปัจจัยที่จำเป็นในการปรุงแต่ง ซึ่งประกอบไปด้วย น้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ และ แร่ธาตุต่างๆในดิน โดยอาศัยสารสีเขียว (คลอโรฟิลล์) ที่แผ่นใบเป็นตัวดำเนินกิจกรรม ดังแผนภูมิที่นำมาแสดงให้ดูเบื้องล่างนี้ 

 

 

 

และผลผลิตที่ได้จากกระบวนการชีวเคมีอันนี้ก็คือ น้ำตาล (คาร์โบไฮเดรท หรือ แป้ง) ออกซิเจน และน้ำ ดังสมการต่อไปนี้

 

 

 

ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า ตั้งแต่เมล็ดเริ่มงอก แทงรากหยั่งลึกลงดิน ชูลำต้นขึ้นสู่อากาศเหนือดิน แผ่กิ่งก้านสาขา แตกใบ ผลิดอก จนกระทั่งให้ผลผลิตในที่สุด ล้วนแต่ต้องอาศัยพลังงานแสงแดดทั้งสิ้น ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า ปัจจัยต่างๆทั้งหมดดังกล่าวนั้น น้ำ และแร่ธาตุ (ปุ๋ย) เราสามารถจัดหาป้อนให้ได้อย่างเต็มเปี่ยม โดยเข้าใจว่า ถ้าเราป้อนสิ่งเหล่านี้ให้ได้ยิ่งมากเท่าไร ต้นพืชก็จะเติบโตให้ผลผลิตมากขึ้นเท่านั้น โดยยึดถือเอาร่างกายตัวเราเป็นบรรทัดฐานเทียบกับต้นพืชเป็นหลัก (เหมือนกับเรากินอาหารในปริมาณมากๆ) ซึ่งมันไม่สอดคล้องต้องกันกับความเป็นไปของกระบวนการเจริญเติบโตของต้นพืช พืชสามารถสังเคราะห์อาหารเองได้ แต่สัตว์หรือมนุษย์ทำเช่นนั้นไม่ได้ พูดให้เข้าใจง่ายๆก็คือ อาหารที่เรากินเข้าไปนั้นเป็นอาหารที่สำเร็จรูปแล้ว แต่อาหารที่พืชดูดซับเอาเข้าสู่ภายในลำต้นนั้นยังเป็น วัตถุดิบ ที่ยังต้องอาศัย พลังงาน (ซึ่งก็คือแสงแดด) มาทำการปรุงแต่งเข้าด้วยกันเสียก่อน จึงจะได้อาหารที่เป็นน้ำตาล (หรือแป้ง) ไปเลี้ยงส่วนต่างๆของลำต้น และพึงทำความเข้าใจให้ลึกซึ้งด้วยว่า องค์ประกอบหลักของ น้ำตาล (หรือคาร์โบไฮเดรท) นั้น คือธาตุ คาร์บอน มิใช่แร่ธาตุ N, P, K (ปุ๋ย) อย่างที่เราเข้าใจกัน

 

 

 

 และธาตุ C เหล่านี้ล้วนได้มาจาก CO2 จากบรรยากาศที่ใบพืชดูดซับเข้ามาทั้งสิ้น ปุ๋ยและแร่ธาตุอื่นๆนั้นเป็นส่วนประกอบเพียงน้อยนิดเท่านั้น ซึ่งเป็นไปตามตัวเลขที่ทำการวิเคราะห์จากน้ำหนักแห้งของต้นพืชใน 100 ส่วนนั้น ประกอบไปด้วย C ถึงร้อยละ 95 และปุ๋ยที่เราใส่ให้กับพืชนั้น พืชสามารถนำไปใช้งานได้แค่ 30  % เท่านั้น ส่วนแร่ธาตุที่จำเป็นสำหรับพืชนั้น ทำหน้าที่ในการควบคุมการเจริญเติบโตให้เป็นไปตามวิถีทางธรรมชาติของต้นพืชเท่านั้นเอง                   

เมื่อวิเคราะห์แยกแยะได้อย่างชัดเจนแล้ว จะเห็นได้ว่า การปลูกพืชเพื่อให้เติบโตดีให้ผลผลิตสูงนั้น ต้องเน้นให้ความสำคัญกับกระบวนการ แสงสังเคราะห์ เป็นสำคัญ โดยแยกแยะออกเป็นส่วนๆได้ดังนี้

1.ใบ เนื่องจากใบเป็นพื้นผิวที่รองรับแสงแดด และยังทำหน้าที่ดูดซับเอาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์อีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราทำให้ต้นพืชที่ปลูกมีจำนวนใบมากขึ้น หรือมีขนาดใบใหญ่ขึ้น ต้นพืชนั้นก็จะมีพื้นผิวที่รับเอาแสงแดดและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากขึ้น ต้นพืชนั้นก็จะได้รับปริมาณพลังงาน และคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น


2. คลอโรฟีลล์ (สารสีเขียวในใบพืช) ถ้าเราทำให้ต้นพืชมีใบที่เขียวเข้มได้มากเท่าไร ต้นพืชนั้นก็จะมีสารสีเขียวทำงานเพิ่มมากขึ้น (ปรุงอาหารได้มากขึ้น)

3. ความเข้มข้นของ คาร์บอนไดออกไซด์ ในอากาศ ซึ่งความเข้มข้นนั้นเบาบางไม่เพียงพอเท่าทันกับความต้องการของต้นพืช ปัจจัยข้อนี้ ดูออกจะเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยากในการจัดการ เพราะอยู่นอกเหนือการควบคุมของเรา แต่ก็ยังสามารถบริหารจัดการได้ โดยทำให้ต้นพืชเพิ่มศักยภาพ – เพิ่มอัตราเร่งในการดูดซับ ปัญหาข้อนี้ก็คลี่คลายลงได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของการดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์เป็นหลัก

เนื่องจากอัตราการใช้พลังงานกับปริมาณของ CO2 นั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น ที่หยิบยกบอกกล่าวมาให้ฟังนั้น เป็นทฤษฏีที่มีการพิสูจน์ทดสอบแล้ว คราวนี้จะหยิบยกตัวอย่างที่เป็นจริงมาให้ดูว่า การเพาะปลูกนั้น กระบวนการทางชีวเคมีที่เรียกว่า “ แสงสังเคราะห์ ” นั้น มีบทบาทคงความสำคัญต่อการเพาะปลูกพืชอย่างยิ่งยวด หากเรา
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของ การใช้แสงแดดมากขึ้นเท่าไร (เพราะเป็นการเพิ่มพลังงานให้กับต้นพืชมากขึ้น) กระบวนการอันนี้ก็เพิ่มประสิทธิภาพตามไปด้วย นั่นย่อมหมายถึงผลการเพาะปลูกที่ได้ผลดีอย่างแน่นอน

ปัจจุบันหลายๆประเทศต่างได้หันมาให้ความสนใจในการเพาะปลูกเชิงอินทรีย์กันมากขึ้น อันเป็นการลดการใช้สารเคมีที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค (ก็ตัวเราด้วยนั่นแหละที่ต้องกินต้องรับประทาน) ซึ่งในหลายๆวิธีการที่คิดค้นมาใช้นั้น จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ก็ถูกนำมาใช้กันอย่างกว้างขวางในหลายๆวงการ เช่นการเลี้ยงสัตว์บก – สัตว์น้ำ และแม้กระทั่งการเพาะปลูก ตัวอย่างที่เห็นกันโดยทั่วไปก็คือ
จุลินทรีย์ EM

รูปภาพตัวอย่างที่นำมาให้ดูนี้ เป็นการเปรียบเทียบผลของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการชีวเคมี “ แสงสังเคราะห์ ” ชื่อ กวงเฮอะแยว่ป่าว (光合液宝)

 

 กวงเฮอะแยว่ป่าว

กวงเฮอะแยว่ป่าว

ต้นข้าวโพดที่ได้รับสาร光合液宝 (ด้านซ้ายมือในรูป) และที่ไม่ได้รับสาร (ขวามือในรูป)

ต้นข้าวโพดที่ได้รับสาร光合液宝 (ด้านซ้ายมือในรูป)
และที่ไม่ได้รับสาร (ขวามือในรูป)
ให้สังเกตขนาดของใบ และความหนาอวบของลำต้น รวมทั้งสีที่โคนต้น

ต้นข้าวโพดที่ได้รับสาร光合液宝 (ด้านซ้ายมือในรูป) และที่ไม่ได้รับสาร (ขวามือในรูป)

ต้นข้าวโพดที่ได้รับสาร光合液宝 (ด้านซ้ายมือในรูป)
และที่ไม่ได้รับสาร (ขวามือในรูป)
ให้สังเกตขนาดของใบ และความหนาอวบของลำต้น รวมทั้งสีที่โคนต้น

ต้นข้าวโพดที่ได้รับสาร光合液宝 (ด้านซ้ายมือในรูป) และที่ไม่ได้รับสาร (ขวามือในรูป)

ต้นข้าวโพดที่ได้รับสาร光合液宝 (ด้านซ้ายมือในรูป)
และที่ไม่ได้รับสาร (ขวามือในรูป)
ให้สังเกตขนาดและความสดของสีใบ แตกต่างจากด้านขวา
มือที่เริ่มร่วงโรยเหี่ยวแห้ง

สองรูปนี้คือรูปเดียวกันที่ถ่ายจากรูปด้านบน
ในมุมมองคนละฟากฝั่ง (ขวา – ซ้าย)
คงไม่จำเป็นต้องอธิบายถึงความแตกต่างใช่ไหมครับ

 

 

จากทฤษฏีที่หยิบยกมาอ้างอิง และจากผลการทดลองภาคปฏิบัติในไร่ข้าวโพด โดยการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการชีวภาค “แสงสังเคราะห์ ” ภายในต้นพืช จากผลิตภัณฑ์ เสริมประสิทธิภาพการใช้พลังแสงแดด ยืนยันให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนว่ามีความสำคัญต่อการเพาะปลูกโดยแท้จริง เมื่อมีปัจจัยครบครัน (น้ำ ปุ๋ย) แต่ขาดประสิทธิภาพในการใช้แสงแดด ก็ไม่อาจบรรลุผลอันสูงสุดได้

ปัจจุบันนี้ ทางหน่วยงานพัฒนาการเพาะปลูกของประเทศจีนได้มีการวิจัยคิดค้นผลิตภัณฑ์ที่เสริมประสิทธิภาพการใช้แสงของพืชออกมาเรื่อยๆ ที่ส่งเสริมแนะนำให้เกษตรกรใช้กันก็มี จุลินทรีย์แสงสังเคราะห์ (ซึ่งบ้านเราก็ใช้กันบ้างแล้ว) และผลิตภัณฑ์อีกตัวหนึ่งนั้นเป็นนวัตกรรมจากไต้หวัน แต่มาทำการผลิตที่จีนแผ่นดินใหญ่ ชื่อ 光能动力2005  เป็นสารประกอบคลอไรด์ชนิดหนึ่ง ที่ไม่เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต และไม่ทำลายสภาพแวดล้อมแต่อย่างใด (แล้วจะนำมาเสนอแนะในโอกาสต่อไป)

และสุดท้ายนี้ สิ่งที่เราพยายามจะบอกแก่เกษตรกรไทยว่า ให้ปรับเปลี่ยนทัศนะคติในการเพาะปลูกเสียใหม่ ให้ลดการพึ่งพาปุ๋ยเคมี และเคมีภัณฑ์เกษตรลง แล้วหันมาใช้หลักการทางอินทรีย์ หลักการทางชีวะ – ฟิสิกส์ (กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงก็เป็นหนึ่งในหลักการนี้) เมื่อต้นพืชได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ ทุกกระบวนการภายในต่างๆ (ความต้านทานโรค – แมลง และ ฯลฯ ก็จะเพิ่มตามมา) และด้วยหนทางดังกล่าว เป็นการลดต้นทุนในการผลิตสูงสุด (เพราะแสงแดด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไม่ต้องจ่ายเงินซื้อ) ปลอดภัยที่สุด

 

 

อุปกรณ์ที่เห็นนี้ เป็นเครื่องมือไฟฟ้าที่ใช้ในการเกษตร ทั้งปศุสัตว์ การเพาะปลูก ตามแนวทาง ไบโอ- ฟิสิกส์ ที่ใช้กำจัดเชื้อโรค กำจัดกลิ่น สลายหมอก สร้างปุ๋ยไนโตรเจนในบรรยากาศ (ที่พืชดูดซับเข้าทางใบ โดยไม่ต้องซื้อปุ๋ยไนโตรเจนอีกต่อไป) คอยติดตามดูรายละเอียดในโอกาสต่อไป

 

 

 




เกษตรไฮเทค

นักวิชาการรู้ แต่ยังไม่กล้าบอก
ปลูกข้าวในทะเลทราย โดยใช้เม็ดทรายเก็บกักน้ำไว้ทำนา
กดเอาไว้ อย่าให้โผล่ขึ้นมาได้ แล้วมันก็จะดีเอง!
กว่าจะเป็นตัวตนของตนเอง ต้องใช้เวลาเดินทางนานร่วม 60 ปี !
เบื้องหลังความสำเร็จรางวัลไวน์เหรียญทองนานาชาติของจีน
เคล็ดลับประหลาดที่ใช้ปลูกข้าวได้ผลดีเหลือเชื่อ
GMO
คาร์บอนไดออกไซด์ทำให้คุณภาพซากสุกรดีขึ้น
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) อีกแล้ว
จ่าวหลานต้านไป๋ (藻蓝蛋白 / Algal blue protein) article
เอ๊ะ ทำได้อย่างไร ?
并蒂荔枝 (ปิ้งตี้ลี่จือ) คืออะไร ?
คุณเชื่อหรือไม่ ปลูกต้นไม้ในทะเลทราย 10 วินาที ต่อ 1 ต้น อัตราการรอดสูงถึง 90 เปอร์เซ็นต์?
มหันต์ภัยเงียบก่อหายนะกำลังเผยตัวปรากฏให้เห็นแล้วอย่างชัดเจนในผืนแผ่นดินเพาะปลูก
ยาสูบมีโทษต่อร่างกาย ผู้เสพอาจถึงตายได้ แต่ ... นักวิทยาศาสตร์กลับนำมันมารักษาชีวิตคน ! article
ถึงเวลายาเคมีเกษตรต้องยาตราถอยทัพ
ยาเคมีหรือ ถอยให้ห่างไกลไปเลย
สารตัวนี้แหละที่ช่วยเร่งอัตราการสังเคราะห์แสงในพืช article
จุลินทรีย์ แบซิลลัส ซับทิลิส article
116 肥 ไม่เชื่อไม่ได้แล้ว ! ไม่ใช้ก็คงไม่ได้แล้ว (เหมือนกัน) article
อุปกรณ์ที่จะช่วยชาวไร่ข้าวโพดขายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น article
ผลลัพธ์ที่ปรากฏให้เห็นโดยไม่ได้ตั้งใจ article
โปรตีนอะไรที่สร้างความต้านทานโรคพืชได้ article
จ้าว หย่งเลี่ยง คนเยี่ยงนี้ยังมีอยู่หรือ ?
ไก่เบตงมาจากไหน ? ไม่ใกล้ไม่ไกล ที่นี่นี้เอง ?
ฟูเซียวเฝิ่นน่า (复硝酚钠)
จากเมล็ดพันธุ์ 3 เมล็ดสุดท้าย สู่อาณาจักร มาคา - ไวอะกร้า ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ article
ผลผลิตรากบัว จาก 4,800 กก. ต่อไร่ เพิ่มเป็น 14,400 กก. ต่อไร่ ทำได้อย่างไร ?
เอาผงชูรสมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย เพิ่มผลผลิตได้เท่าตัว
นี่มันลูกแตงโมนะ ไม่ใช่ลูกโบว์ลิ่ง article
อะไรเอ่ย ทั้งแข็งทั้งอร่อย article
ต้นไม้ที่ผลิตเกลือแกง article
หมูที่เลี้ยง-ขุนด้วยหนอนแมลงวัน คุณกล้ากินไหม ? article
แต้มจุดสีแดงบนใบข้าวเพื่อ .... article
อะไรนะ มีด้วยหรือ ปุ๋ยอากาศน่ะ ! article
หนานอวี้ เบอร์ 1 article
หนุ่มสติเฟื่องเพาะพันธุ์ เหรยินเซินกว่อ article
สวนเกษตรสาธิตไฮเทคระดับประเทศแห่งเมืองเทียนสุ่ย article
ต่าหังเทียนผาย เจ่าสวินฮว๋านลู่ ช่วงเจียกงเอยี๊ยะ ต้ายหนงหมินฝู๋ article
ศักราชใหม่ของเกษตรกรจีน article
ถ้าคุณต้องการเลี้ยงกุ้ง ปูปลา และสัตว์น้ำอื่นๆให้ได้ผลดี article
มะละกออวกาศ article
สัตว์ที่คนไทยเราขยะแขยง ประหวั่นพรั่นพรึง article
เอายอดมะระมาเสียบตอบวบดีอย่างไร ? article
หมาวฮวามี่เหาถาว 毛花猕猴桃 สายพันธุ์ใหม่ วอลเท่อร์ (华特 / Walther) article
สวี ไหว่จง (徐 伟忠) article
กุหลาบ 7 สี หรือ กุหลาบสายรุ้ง 彩虹玫瑰 article
วิธีไหนดีกว่ากัน? article
ไก่เหวินชาง (อีกแล้ว) article
เตาแก๊สเกษตร article
มู่กวา (木瓜) article
เริ่มแล้ว อลังการยิ่งใหญ่ตระการตาน่าชมชื่น article
นี่ก็ใช่เหมือนกัน article
ปลูกข้าวในทะเลทรายโกบี ? article
ปลูกมันฝรั่งในอากาศ article
จินกวา หรือ หนานกวา ? article
ไก่เนื้อที่ขึ้นชื่อลือชาว่ารสชาติอร่อยที่สุดในเกาะไหหลำ article
ไปเทียว ห่ายหนานต่าว (เกาะไหหลำ) article
อยี่ หวงหวาง จิน article
ข้าวไผ่ article
นาโนเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ article
เต้าเกอ article
พริก พริก พริก ที่นี่มีแต่พริกทั้งนั้น article
นาซี 778 ขจรขจายทั่วผืนแผ่นดินจีน article
แตงโมอวกาศมาที่รอคอย ถึงเวลาปลูกให้ลิ้มชิมรสแล้ว article
ผลิตภัณฑ์ใหม่ทางการเกษตรที่ทรงประสิทธิภาพในประเทศจีน article
ไข่มุกดำที่มีรสชาติแสนโอชา article
อาหารดัดแปรพันธุกรรมปลอดภัยหรือไม่ ? article
เบิ่งมองการเกษตรประเทศจีน article
สบู่ดำที่เกาะห่ายหนาน article
เอทานอลจากต้นข้าวโพด article
หญ้าที่โตเร็วที่สุดในโลก article
ข้าวหอมสายพันธุ์ใหม่ที่กว่างซี article
ตลาดผัก-ผลไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน article
เตาแก๊สแรงดันสูง (เตาฟู่) ที่ประหยัดแก๊สถึง 2 ขั้นตอน article
การผลิตพันธุ์ข้าวลูกผสมทำได้อย่างไร ? article
อาร์ติโชค (artichoke) article
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ไข่ไก่ article
เตาแก๊สชีวมวลประสิทธิภาพสูง article
เตาผลิตแก๊สจากไม้ฟืนและเศษเหลือทิ้งจากพืชไร่ article
ขโมยวัวข้าหรือ ? บอกได้เลยว่า ยากซ์........ซ article
แบตเตอรี่เก่า อย่าเพิ่งเปลี่ยน หรือ โยนทิ้งไป article
ซื้อแต่เตา แล้วมีแก๊สใช้ตลอดไป ! article
เครื่องดำนาขนาดเล็ก article
ต้นมะเขือออกผลเป็นไข่ไก่ ? article
เดินทางเยี่ยมเยือน เฉิงตู นครแห่งไม้ดอก article
เว็บไซท์ทางการของจีน article
นิทัศน์การแสดงสินค้า-อุปกรณ์และเทคโนโลยีการเก็บรักษาความสดผลผลิตทางการเกษตรนานาชาติครั้งที่สอง article
เสื้อผ้าที่ถักทอตัดเย็บมาจากไม้ไผ่ article
พันธุ์ถั่วฝักยาวอวกาศ article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน III article
ของจริง มิใช่ของปลอม article
ฟักแฟง 9 ผล ราคาเหยียบ ห้าหมื่นบาท ! article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน II article
ผลไม้เมืองร้อนในมุมมองของคนจีน article
ปลาอะไรเอ่ย มีราคาแพงที่สุดในโลก ? article
ข่าวดี article
ข้าวโพด มันฝรั่ง ที่สร้างภูมิคุ้มโรคได้ article
บอกอำลาควันไฟไปได้เลย article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Welcome to Eco-agrotech.com Photo Albums
Google