ReadyPlanet.com
dot dot
dot
นาซี 778 [Nashi 778]
dot
bulletรู้จักนาซี 778
bulletคุณสมบัติ
bulletประสิทธิภาพ
bulletวิธีใช้นาซี 778
bulletข้อควรระวัง
bulletทฤษฏี กลไก และ บทบาท
bulletขนาดและราคา
dot
นาโน 863 [Nano 863]
dot
bulletรู้จักนาโน 863
bulletประสิทธิภาพ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเพาะปลูก
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการปศุสัตว์
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
bulletการใช้นาโน 863 ในวงการเห็ด
bulletขนาดและราคา
dot
นาโนบอล [Nano Ball]
dot
bulletรู้จักนาโนบอล
bulletวิธีใช้นาโนบอล
bulletราคา
dot
นาโนสทีค [Nano Stick]
dot
bulletรู้จักนาโนสทีค
bulletราคา
dot
Download Brochures
dot
bulletโปรชัวร์นาซี 778 และนาโน 863
dot
Photo Albums
dot
bulletอัลบั้มรูปผลผลิตต่างๆที่ได้จากนาซี 778
dot
รายงานผลการใช้ผลิตภัณฑ์
dot
bulletสารสมุนไพรนาซี 778
dot
สั่งซื้อผลิตภัณฑ์
dot
bulletหมวดหมู่สินค้า
dot
ตะกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00บาท
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
bulletยืนยันการโอนเงิน
bulletตรวจสอบสถานะสั่งซื้อสินค้า
dot
สมัครรับข่าวสาร

dot


Go to Nanosoeasy.com
Nano 863 Video Clip #1
Nano 863 Video Clip #10
Nano 863 Video Clip #9
Nano 863 Video Clip #8
Nano 863 Video Clip #7
Nano 863 Video Clip #6
Nano 863 Video Clip #5
Nano863 Video Clip #3
Nano 863 Video Clip #2


เกษตรแสงอาทิตย์ article

การเพาะปลูกที่กระทำอยู่ทุกวันนี้  เป้าหมายที่ตั้งหวังไว้ก็คือผลผลิตอันสูงสุด  ผลผลิตที่มีคุณภาพดีที่สุดด้วยการลงทุนที่น้อยที่สุด  แต่การณ์หาได้เป็นใจดั่งที่ตั้งหวังวาดเอาไว้ไม่  เพราะเท่าที่เป็นไปทุกวันนี้  การเพาะปลูกให้ได้ผลผลิตสูงสุด คุณภาพดีได้ถึงขั้นที่น่าพึงพอใจนั้น  กลับต้องทุ่มทุนมากเกินความจำเป็น  จากการหว่านให้ปุ๋ยเพิ่มเติมลงในดินมากกว่าเดิม  ฉีดพ่นแร่ธาตุ-อาหารเสริมให้ทางใบมากยิ่งขึ้น  ใช้ฮอร์โมนกระตุ้นเร่งเร้าอีกต่างหาก  บรรดาสารพัดสารพันที่เพิ่มเติมให้กับพืชที่ปลูกนั้น  ล้วนแต่เป็นการเพิ่มต้นทุนทับถมหนายิ่งขึ้น  แต่ทว่าผลผลิตที่เพิ่มขึ้นนั้นกลับไม่ได้สัดส่วนและไม่คุ้มค่ากับจำนวนเงินที่หว่านโปรยลงไปเลย  เมื่อวิเคราะห์คำนวณดูแล้ว  กลับกลายเป็นการสูญเปล่าที่ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุนแม้แต่น้อย

เหตุไฉนจึ่งกล่าวเช่นนี้  ที่กล้ากล่าวยืนยันเช่นนี้  เนื่องจากต้นพืชที่ปลูกไม่สามารถบรรลุถึงขีดความสามารถสูงสุด (ศักยภาพ) ที่มันมีอยู่  จากการวิเคราะห์ตรวจสอบปริมาณปุ๋ยที่ใส่ให้แก่ต้นพืชทั้งหมด  ปรากฏว่าพืชสามารถดูดซับไปใช้งานได้ไม่เกิน 30 % !  ส่วนที่เหลืออีก 70 % นั้นสูญสลายไปในอากาศและซึมลึกลงไปใต้พื้นดิน นั่นคือการสูญเสียที่ไม่ก่อเกิดผลตอบแทนกลับคืนมาเลย มีวิธีการหนทางใดบ้างที่พอจะทำให้ให้พืชสามารถนำเอาส่วนที่สูญเปล่า 70 % นั้นมาใช้ประโยชน์ได้เพิ่มมากขึ้น ?


ต้นมะนาว
ใครจะเชื่อบ้างว่า มะนาวที่ตกลูกให้เก็บกินได้ที่เห็นอยู่นี้ใช้เวลาปลูกแค่
2 เดือนเศษเท่านั้น และให้ช่อผลดกที่มีขนาดใหญ่ไล่เลี่ยกันในพื้นที่ปลูกที่
เป็นดินทรายร่วนจัด แต่นาซี 778 รังสรรค์ให้ได้


คำตอบก็คือ มี และ ทำได้ และทำได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มเปี่ยมเสียด้วยจากเทคโนโลยี ชักนำพันธุกรรมพืช (Gene Phenotype Induction Technology/GPIT) ที่สามารถเพิ่มอัตราของขบวนการ “แสงสังเคราะห์” ให้สูงขึ้น (Photosynthesis) จากการนำเอา พลังงาน แสงอาทิตย์ มาเป็นตัวจักรหัวหอกในการขับเคลื่อนขบวนการดังกล่าว โดยเรียกขานการเพาะปลูกตามแนวทางนี้ว่า “เกษตรแสงอาทิตย์”

ทำไมต้องเป็นแสงอาทิตย์ ? ย่อมเป็นที่เข้าใจกันโดยชัดแจ้งแล้วว่า แสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานแหล่งเดียวที่พืชนำไปดำเนินขบวนการทางชีวเคมีภายในลำต้น  เพื่อสร้างการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตในการมีชีวิตและสืบสายพันธุ์  และกล่าวได้อย่างเต็มปากเต็มคำว่า แสงพระอาทิตย์ นั้นเป็นปัจจัยต้นทุนสำคัญที่ไม่ต้องเสียทรัพย์ซื้อหามาป้อนให้แก่พืชที่ปลูกเลยแม้สตางค์แดงเดียว  อีกทั้งยังไม่ต้องควักกระเป๋าจ่ายเงินทางอ้อมเพื่อผ่องถ่ายมาป้อนให้พืชได้ใช้เหมือนกับ น้ำ ที่ต้องลงทุนจัดหาอุปกรณ์และเชื้อเพลิง-พลังงานเพื่อนำพาขนส่งจากแหล่งน้ำมายังผืนดินแหล่งเพาะปลูกแม้แต่น้อย  แล้วเหตุไฉนจึงละเลยปล่อยไปโดยไม่นำพาและให้ความสนใจกับสิ่งล้ำค่าเช่นนี้


ต้นยางพารา
ถ้าให้เกษตรกรที่ปลูกยางพาราทายว่าต้นยางพาราที่เห็นนี้มีอายุเท่าไร เกือบทุกรายตอบว่า
ไม่ต่ำกว่า 1 ปี แต่เป็นคำตอบที่ผิด เพราะที่เห็นนี้มีอายุแค่ 6 เดือนเศษๆเท่านั้น
และปลูกในพื้นที่เป็นทรายจัดเช่นกัน


เป็นความจริงที่ว่า  ต้นพืชที่มีปริมาณพื้นผิวใบมากกว่าจะดักจับ-ดูดซับเอาพลังงานแสงแดดมาใช้งานได้มากกว่าต้นที่มีพื้นที่ผิวใบน้อยกว่า  แต่ถ้าหากมีแต่ปริมาณของใบเพียงพอที่พร้อมทำงานได้เต็มที่  แต่ขบวนการอื่นๆอย่างการดูดซับน้ำ-แร่ธาตุอาหารในดินกระทำได้ไม่สมดุลเท่าทันกัน พลังงานที่ได้รับก็ไม่เกิดผล เนื่องจากระบบรากไม่ได้พัฒนาเพิ่มมากขึ้น  พิเคราะห์ดูแล้วเหมือนจะอับจนสิ้นหนทาง  เพราะจากการทดสอบเพิ่มเติมอาหารพืช (ปุ๋ย) ก็ดี ให้สารอาหารเสริมเพิ่มก็ดี  ใช้ฮอร์โมนเร่งก็ดี  ล้วนไม่สามารถทำให้ต้นพืชบรรลุถึงศักยภาพสูงสุดที่มันมีอยู่เพื่อเพิ่มขยายการงอกราก แตกกิ่ง  ออกใบได้มากเพียงพอ  มีแต่วิถีทางเทคนิค ชักนำพันธุกรรมพืช เท่านั้นที่สามารถรังสรรค์ปรากฏการณ์ที่ต้องการนี้ได้

สาร GPIT เป็นสารสมุนไพรจากธรรมชาติหลายชนิดในสัดส่วนที่เหมาะเจาะพอดี   กอปรไปด้วยสารชีวเคมีต่างๆมากมายที่ผ่านการวิจัยอย่างเป็นระบบจากสถาบันวิจัยเกษตรนิเวศวิทยาแห่งมหานคร   คุนหมิง ประเทศจีน พืชที่ได้รับสารดังกล่าว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางลักษณะภายนอกที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่หน่วยของพันธุกรรมที่มีอยู่ในพืชแต่ชนิดแต่ละสายพันธุ์ รวมทั้งปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่นความเข้มข้นและระยะเวลาที่พืชได้รับสาร อุณหภูมิและสภาพอากาศต่างก็มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงนี้ด้วยเช่นกัน


สภาพดินทราย
สภาพของดินที่เป็นทรายร่วนจัด  อันเป็นดินผืนที่ปลูกพืชดังกล่าวที่หยิบยกมา
ให้เห็นถึงความน่าอัศจรรย์ของสาร GPIT ที่น่าทึ่งชนิดที่ผลิตภัณฑ์อื่นๆ
ไม่สามารถเอื้ออำนวยให้ได้


เป็นเรื่องน่าทึ่งและเหลือเชื่อที่สารสมุนไพรสามารถกระตุ้นชักนำการทำงานของยีนที่ควบคุมการทำงานและการแสดงออกของลักษณะต่างๆของพืชได้โดยวิธีการพื้นๆง่ายๆ ทำให้พืชมีอัตราการเจริญเติบโตเร็วกว่าปกติครบถ้วนทุกขบวนการ  นับตั้งแต่อัตราความงอกของเมล็ด  การแตกราก  การแตกหน่อ-กิ่งก้านสาขา การผลิใบ การติดดอกออกผล คุณภาพของผลผิต (ขนาด น้ำหนัก สี กลิ่น รส) ล้วนแต่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีทั้งสิ้น  รวมทั้งภูมิต้านทานต่อโรค-แมลง  ความต้านทานต่อสภาวะอากาศที่แปรปรวน (กระทบแล้ง กระทบหนาว น้ำท่วมขัง ฝนกรด ดินเค็ม) ต่างเปลี่ยนแปลงเป็นไปในทางที่ดีในทางบวกทั้งสิ้น

พืชทุกชนิดทุกสายพันธุ์ที่ได้รับสาร GPIT แค่ 2 ครั้งเท่านั้นตลอดฤดูกาลเพาะปลูก หรือใน 1 รอบปี จะให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นตั้งแต่ 20 % จนกระทั่งถึง 200 % เลยทีเดียว  ต้นพืชมีความแข็งแรง เติบโตเร็ว ให้ผลผลิตสูงที่มีคุณภาพเป็นเลิศ  เก็บเกี่ยวได้เร็วขึ้น 5 -10 วัน ลดการใช้ยากำจัดโรค-แมลงได้ไม่ต่ำกว่า 50 % ลดการใช้ปุ๋ยได้ประมาณ 1 ใน 3 ของการใช้ตามปกติ  การกระทำให้พืชบรรลุถึงศักยภาพสูงสุดพร้อมๆกันทุกมิติ  (ผลผลิตสูงสุด คุณภาพดีที่สุด ลงทุนต่ำสุด) ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีผลิตภัณฑ์ใดๆในท้องตลาดสามารถสร้างสรรค์ให้ได้ครบครันภายในหนึ่งเดียวเฉกเช่นสาร GPIT ที่มีชื่อทางการค้าว่า นาซี 778  แม้แต่ตัวเดียว


ต้นพริก
 ต้นพริกที่เห็นทั้ง 2 ต้นนี้ เป็นสายพันธุ์เดียวกัน (ซุปเปอร์ฮอท)
แต่ต้นที่เห็นใหญ่กว่ากัน (มือขวาจับ) ดูเหมือนกลายพันธุ์ไปเลยนั้น
เกิดจากผลของสาร นาซี 778 แค่ 2 ครั้งเท่านั้นเอง


เป็นที่คาดการณ์และมั่นใจได้ว่า เทคโนโลยี ชักนำพันธุกรรมพืช ด้วยสาร GPIT จะมีบทบาทที่สำคัญต่อการเพาะปลูกอย่างกว้างขวางไปทั่วโลกในอนาคตอันใกล้ในไม่ช้านี้โดยไม่ต้องสงสัย เพราะเป็นแนวทางการเกษตรที่ยั่งยืน ปลอดภัยไร้พิษ เอื้ออาทรต่อสุขภาพ เป็นมิตรต่อธรรมชาติ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ สมตามนัยยะคำว่า เกษตรแสงอาทิตย์ อย่างแท้จริง




ข่าวสาร - สาระน่ารู้

ความเชื่อมั่นของกองทัพ (จีน) ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ นาซี 778
เหตุผลที่เราเลือกเทคโนโลยี GPIT (ผลิตภัณฑ์ นาซี 778) มาใช้กับการเพาะปลูกของเรา
ในเมื่อมีเทคนิค GPIT ที่ดีกว่าร้อยเท่า
ถ้าผลงานของ เหยี่ยนหลงผิง ประเมินค่าได้ 10 ล้าน ผลงานของ น่าจงหยวน ต้องมีมูลค่าถึง 30 ล้าน
ปฏิวัติการเกษตรครั้งที่ 2
นาซี ฉีฉีฟา (那氏齐齐发)
และแล้ว ผมก็เชื่อจนหมดใจ
น้ำ 1 ถัง ล้างรถได้ 1 คัน
เพราะตอบผิดทุกท่าน (และทุกข้อ) จึงได้รับของสมนาคุณ
แวะเวียนกลับไปดูผลลัพธ์ article
ภาพที่เห็นนี้ ตัดต่อ - เติมแต่งหรือไม่ ?
โชคดีที่เกิดตามมาหลังน้ำท่วมใหญ่ article
ถั่วเหลืองที่งอกเป็นเถาไม้เลื้อย คุณเคยเห็นบ้างไหม ? article
คุณจะเชียร์ฝ่ายไหน ? เจ้าสูง หรือ เจ้าเตี้ย article
นาข้าวคุณสุไลมาน ยังคงงามเป็นหนึ่งในละแวกนี้ ? article
แล้วคุณยังจะลังเลใจไปอีกนานเท่าไร ?
แล้วคุณยังจะลังเลใจอยู่อีกหรือ ? article
ถ้าคุณไม่เชื่อ ก็ให้ไปดูให้เห็นกับตา ... แต่อย่าได้ชักช้า article
ผักยะวารากสีม่วง (จื่อเกินสุ่ยหูหลู / 紫根水葫芦) พืชบำบัดน้ำเสียสายพันธุ์ใหม่ article
ต้นปาล์มที่หยั่งรากยืนต้นอันสมบูรณ์บนหาดทรายผืนนี้ article
ถ้าผมบอกว่า ...... article
ปรากฏการณ์อันเป็นผลเนื่องมาจาก นาซี 778 article
นาซี 778 รังสรรค์ให้ได้อีกแล้ว article
เหลือเชื่อ เหลือเชื่อสุดๆ ! article
นี่สิเรื่องจริง เสียงจริง article
เกษตรแสงอาทิตย์ article
คำแนะนำที่ยากจะเชื่อว่าเป็นไปได้ article
เล็บนก ที่ว่าเหลือเชื่อแล้ว เล็บมือนางยิ่งเหลือเชื่อกว่า ! article
เล็บนก ที่ไม่ใช่เล็บนก article
คุณสมบัติพิเศษที่โดดเด่น 4 ประการของ นาซี 778 article
หวังผลอย่างเดียว แต่ได้แทบทุกอย่าง article
เหนือฟ้า ยังมีฟ้า article
ประวัติพัฒนาการทางการเกษตร article
ลับ ลวง พราง ? article
จาก ธรรมดา ผันเปลี่ยนกลับกลายเป็น ไม่ธรรมดา article
มะม่วงยักษ์ ลูกละ 2 กิโลกรัม article
จาก 2 เดือน มาเป็น 4 เดือน มีผลิตภัณฑ์อะไร ชนิดไหนรังสรรค์ให้คุณได้ ? article
ผมคงไม่มีทางหลุดพ้นจากความยากจน ชีวิตไม่มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นทุกวันนี้ได้ หากไม่ได้พานพบกับ นาซี 778 article
สวนมะขามหวานแห่งนี้ทำไมจึงไม่เหมือนสวนอื่น article
นาซี 778 ช่วยบำบัดน้ำเสีย ? article
ความวิตกกังวลใจที่ไม่ต้องเป็นทุกข์อีกต่อไป article
จริงหรือ ที่ต้นพืชถูกน้ำท่วมขังแล้วไม่ตาย ? article
ผมไม่เชื่อหรอกว่า นาซี 778 มีสรรพคุณดีดั่งคำโฆษณา article
บทสรุปผลผลิตหอมแดงที่ อ.บึงสามพัน จ.เพชรบูรณ์ article
ไม่ใช่ยามหัศจรรย์ แต่เป็นยาเทวดา ! article
ความจริงที่ได้รับการพิสูจน์ article
ความจริงที่ได้รับการยืนยัน II article
ความจริงที่ได้รับการยืนยัน article
ตอกย้ำความจริง article
คุณเชื่อไหมว่า article
ความแตกต่างที่ไม่มีผลิตภัณฑ์อื่นใดสามารถกระทำได้ article
นาซี 778 กับการแก้ปัญหาดินเค็ม article
พืชที่คุณปลูกได้รับพลังงานเพียงพอแล้วหรือ? article
หนังสือรับรองผลิตภัณฑ์ อินทรีย์ article
ชมอัลบั้มรูปถ่ายผลของ นาซี 778 article
แสงสุรีย์ article
บอกลาความยากจนกันเสียที article
จดหมายบอกเล่าความจริง article
เทคโนโลยี GPIT หนทางกสิกรรมธรรมชาติ ด้วยเกษตรแสงอาทิตย์ article
เทคโนโลยี GPIT หนทางกสิกรรมธรรมชาติ ด้วยเกษตรแสงอาทิตย์ article
คุณเชื่อหรือไม่ ? article
เรื่องจริง ยิ่งกว่าโกหก! article
รูแม๊กซ์ – เค วัน (Rumex K-1) article
ทอร์มาลีนในบ่อกุ้ง article
มาลัยร้อยใบ article
โรคในมะละกอ? เรื่องเล็ก ถ้ามีนาซี 778 article
นาซี 778 ในไผ่ตง และยางพารา article
ผลของนาซี 778 ในถั่วเหลือง article
การเปลี่ยนแปลงของถั่วเหลือง article
ผลการใช้นาซี 778 ในลองกอง article
ผลของนาซี 778 ในข้าว article
ผลของนาซี 778 ในลองกอง และลำใย article
ผลของนาซี 778 ที่มีต่อการติดผลของปาล์มน้ำมัน article
ลำไยที่บ้านพี่ปูติดลูกดกเหลือเชื่อ ดกกว่าปีที่แล้วเสียอีก article
ผลของนาซี 778 (GPIT) article
เสียงตอบรับจากผู้ใช้: ยางพาราปลูก 4 ปีเปิดกรีดได้! article
ผลอันน่าทึ่งน่าตื่นใจของ นาซี 778 (I) article
ผลอันน่าทึ่งน่าตื่นใจของ นาซี 778 (II) article
เทคโนโลยีจีพีไอที (GPIT) กับประเทศไทย (I) article
เทคโนโลยีจีพีไอที (GPIT) กับประเทศไทย (II) article
เทคโนโลยีจีพีไอที (GPIT) กับประเทศไทย (III) article
Nano 863 (II) article
Nano 863 (I) article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Welcome to Eco-agrotech.com Photo Albums
Google